T20192128104528:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2562)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์เเละสังคมศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรใหม่    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรใหม่ 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   17/03/2562  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2562
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะศิลปศาสตร์เเละสังคมศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Arabic Language and Literature  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.2
ปริญญาเอก 1.1
ปริญญาเอก 1.2
ปริญญาเอก 2.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.ภาษาและวรรณคดีอาหรับ
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร

             หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ มี 2 แบบ ได้แก่ แบบ 1 และแบบ 2 ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

             แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยการทำดุษฎีนิพนธ์เพียงอย่างเดียว ที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ แต่นักศึกษาจะต้องเรียนรายวิชา AR825-108, AR825-109, AR825-110 และค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อเตรียมตัวในการทำวิทยานิพนธ์

                     แบบ 1.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จะต้องทำทำดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

                     แบบ 1.2 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จะต้องทำทำดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต

             แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยการทำดุษฎีนิพนธ์ที่มีคุณภาพ ที่สร้างความก้าวหน้าทางวิชาการด้านภาษาและวรรณคดีอาหรับ และมีการเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ดังนี้

                     แบบ 2.1 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จะต้องทำทำดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต

                     แบบ 2.2 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จะต้องทำทำดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต

 

 

หมวด

แบบ 1

แบบ 2

แบบ 1.1

แบบ 1.2

แบบ 2.1

แบบ 2.2

หมวดวิชาบังคับ

-

-

9

15

หมวดวิชาเลือก

-

-

3

9

ดุษฎีนิพนธ์

48

72

36

48

รวมไม่น้อยกว่า

48

72

48

72

           

 



รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.272
ปริญญาเอก 1.148
ปริญญาเอก 1.272
ปริญญาเอก 2.148

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษและภาษามลายู)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร T20192128104528:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2562)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์เเละสังคมศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2019  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
21/12/2019 14:12:31161.34 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์Mohamed Ali Omarวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์แซมซู เจะเลงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Arabic Language) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Sultan Sharif Ali Islamic University, BruneiDarussalam. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิบรอเฮม เต๊ะแหวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Arabic literary studies) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:International Islamic University Malaysia, Malaysia. More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์EMAD EU DIN MAKHLOUFวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Arabic Language) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์Mohamed Ali Omarวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Linguistic สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์แซมซู เจะเลงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Arabic Language) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มะพลี แมกองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Arabic literary studies สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิบรอเฮม เต๊ะแหวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Arabic literary studies) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

T20192128104528:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับ หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2562)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์เเละสังคมศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ตระหนักถึงความสำคัญในการดำเนินชีวิตภายใต้กรอบคุณธรรม และจริยธรรมอิสลาม
 1.2เคารพในสิทธิมนุษยชน และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้อื่น มีสัมมาคารวะ ให้เกียรติ และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 1.3มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม ตลอดจนมีวินัย ตรงต่อเวลา และซื่อสัตย์สุจริต และสามารถใช้ชีวิตพหุวัฒนธรรมในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข
 1.4 เคารพกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ลอกเลียนแบบผลงานวิชาการ
 1.5สามารถวิเคราะห์ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมที่ซับซ้อนในบริบทของอิสลาม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1 มีความเข้าใจถ่องแท้ในองค์ความรู้ทางภาษาอาหรับ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติสามารถสร้างเสริมองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัย
 2.2 สามารถนำหลักทฤษฎีและองค์ความรู้ด้านภาษาอาหรับไปประยุกต์ใช้ได้ในพัฒนาวิทยาการภาษาอาหรับที่หลากหลาย
 2.3 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในวิทยาการภาษาอาหรับและศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.4 มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัยเพื่อสรรสร้างและต่อยอดองค์ความรู้ด้านภาษาอาหรับ
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1 มีทักษะในการประมวลความคิดอย่างเป็นระบบ
 3.2 มีหลักการค้นหาข้อเท็จจริงผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์อันนำไปสู่ข้อสรุปที่น่าเชื่อถือ
 3.3 มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ และเป็นระบบ
 3.4 สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ภาษาอาหรับกับบริบทและสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
 3.5สามารถใช้ศาสตร์และองค์ความรู้เป็นพื้นฐานในการชี้นำสังคมให้ใช้หลักคิดที่เป็นระบบ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1 ตระหนักในหน้าที่ที่รับผิดชอบและได้รับมอบหมาย
 4.2 วางตัวได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
 4.3 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและสังคมอย่างต่อเนื่อง
 4.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ใฝ่สันติ ให้เกียรติกับผู้ร่วมงานในองค์กร และบุคคลทั่วไป
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1 สามารถสื่อสารด้านการพูดและการเขียนภาษาอาหรับได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5.2 รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอให้ผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5.3 สามารถเข้าถึงความรู้ด้านภาษาอาหรับจากแหล่งข้อมูลทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
 5.4 มีวิจารณญาณสามารถประยุกต์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม
 5.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามสภาพ และสถานการณ์ที่จำเป็นได้
 5.6 สามารถความก้าวทันเทคโนโลยี นวัตกรรมทางกาศึกษา และสถานการณ์โลก
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษาเรียนรู้หลักการเขียนโครงร่างวิทยานิพนธ์ทางภาษาและวรรณคดีอาหรับ เข้าใจและเคารพในสิทธิของผู้อื่น มีทักษะในการประมวลความคิดอย่างเป็นระบบ ตระหนักในหน้าที่ที่รับผิดชอบและได้รับมอบหมาย และสามารถสื่อสารด้านการพูดและการเขียนภาษาอาหรับได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2นักศึกษาสามารถประเมิน วินิจฉัยเบื้องต้นถึงจุดเด่น จุดด้อยของบทความวิชาการ บทความวิจัย วิทยานิพนธ์ มีหลักการค้นหาข้อเท็จจริงผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์อันนำไปสู่ข้อสรุปที่น่าเชื่อถือ โดยสามารถนำหลักทฤษฎีและองค์ความรู้ด้านภาษาอาหรับไปประยุกต์ใช้ในพัฒนาวิทยาการภาษาอาหรับที่หลากหลายได้ มีสัมมาคารวะ ให้เกียรติและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีวิจารณญาณสามารถประยุกต์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม
3นักศึกษาสามารถเขียน และนำเสนอบทความวิชาการ บทความวิจัย วิทยานิพนธ์ โดยมีความรับผิดชอบ ไม่ลอกเลียนแบบผลงานวิชาการ สามารถบูรณาการและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในวิทยาการภาษาอาหรับและศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เข้ากับบริบทและสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและสังคมอย่างต่อเนื่อง มีความคิดเห็นเชิงประจักษ์ และรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอให้ผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4นักศึกษาสามารถนำเสนองานวิชาการ งานวิจัย และมีความรู้ความสามารถด้านวิธีวิทยาการวิจัย อิสลามานุวัตรทางภาษาและวรรณคดี ประเด็นใหม่ๆเกี่ยวกับไวยากรณ์ ภาษาศาสตร์ วาทศาสตร์และการแปล และการอ่าตำราคลาสสิคในมิติต่างๆเป็นต้น โดยมีความรับผิดชอบ เคารพกฎระเบียบของสังคม ใช้ชีวิตแบบพหุวัฒนธรรมในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข สามารถนำทฤษฎีมาประยุกติใช้ได้ มีทักษะในการประมวลความคิด มีความคิดเห็นเชิงประจักษ์ และมีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

2.2.1 แบบ 1.1 และแบบ 2.1

      2.2.1.1 จะต้องเป็นผู้ที่มีผลการสอบภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด  

     2.2.1.2 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายสาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องจากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และได้แต้มเฉลี่ยคะแนนสะสมไม่ต่ำกว่า 3.25 หรือ จะต้องมีผลงานวิจัย หรือมีผลงานเขียนตำรา/หนังสือทางภาษาและวรรณคดีอาหรับ

      2.2.1.3 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ไม่ตรงกับสาขาภาษาและวรรณคดีอาหรับหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง และสำเร็จปริญญาตรีทางภาษาและและวรรณคดีอาหรับ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องจากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยจะต้องผ่านการสอบประมวลความรู้รายวิชาในสาขาภาษาและวรรณคดีอาหรับ ได้แก่ วากยสัมพันธ์ อักขระวิธี วาทศาสตร์ วรรณคดีอาหรับ และระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาและวรรณคดีอาหรับ โดยจะต้องได้คะแนนของแต่ละรายวิชาไม่ต่ำกว่า 60 คะแนน.

2.2.2 แบบ 1.2 และแบบ 2.2

      2.2.2.1 จะต้องเป็นผู้ที่มีผลการสอบภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด  

     2.2.2.2 เป็นผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้าย สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีอาหรับหรือสาขาที่เกี่ยวข้องจากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ที่มีคะแนนสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50 มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ และมีเอกสารหลักฐานรับรอง หรืออยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

      2.2.2.3 จะต้องผ่านการสอบประมวลความรู้รายวิชาปริญญาโททางภาษาและวรรณคดีอาหรับ ได้แก่ AA 4201-101, AE 4201-102, AR 4201-201 โดยจะต้องได้คะแนนของแต่ละรายวิชาไม่ต่ำกว่า 60 คะแนน

     2.2.2.4 มีประสบการณ์ด้านการใช้ภาษาอาหรับอย่างน้อย 3 ปี ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำคณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์

2.2.3 คุณสมบัติอื่นๆ นอกจากที่กำหนดไว้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

 

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25622563256425652566
ปริญญาเอก 1.111010101010
2010101010
300101010
A:รวม1020303030
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00101010
ปริญญาเอก 1.211010101010
2010101010
300101010
40001010
A:รวม1020304040
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0001010
ปริญญาเอก 2.111010101010
2010101010
300101010
A:รวม1020303030
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00101010
ปริญญาเอก 2.211010101010
2010101010
300101010
40001010
A:รวม1020304040
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0001010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   60000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
60000.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

3.1 นักศึกษาที่เรียน แบบ 1 ต้อง

     3.1.1  สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายใน และภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

              สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย ๒ เรื่อง

  แบบ ๒ ต้อง

       3.1.2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้อง ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัด คุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่าน การสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

           สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

      3.1.3 ท่องจำอัลกุรอ่าน 3 ญุซอฺ ต่อไปนี้คือ ญุซอฺที่ 28 ญุซอฺที่ 29 และญุซอฺที่ 30

      3.1.4 ท่องจำบทท่องอัลฟียะฮ์ อิบนุมาลิก จำนวน 200 -250 บท

      3.1.5 ท่องจำอัลกุรอ่าน 3 ญุซอฺ ต่อไปนี้คือ ญุซอฺที่ 28 ญุซอฺที่ 29 และญุซอฺที่ 30

      3.1.6 ท่องจำบทท่องอัลฟียะฮ์ อิบนุมาลิก จำนวน 200 -250 บท

   3.1.7 เกณฑ์อื่นๆให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2558 และระเบียบมหาวิทยาลัยฟาฏอนีว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2561

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
22/04/2020 08:24:581.79 MB