25491851100167_2104_IP:หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   29/03/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2560
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะครุศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2549  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Buddhist Educational Administration  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามพระราชกฤษฏีกาพุทธศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Artsพธ.ม.M.A.พุทธบริหารการศึกษา
1เป็นไปตามพระราชกฤษฏีกาพุทธศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Artsพธ.ม.M.A.พุทธบริหารการศึกษา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

            หลักสูตรประกอบด้วยหมวดวิชาต่างๆ  ดังนี้

            ๑. หมวดวิชาบังคับ หมายถึง วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามที่ตนเองถนัดหรือสนใจ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือวิชาที่ต้องการเสริมสร้างคุณลักษณะเฉพาะของหลักสูตรหรือสถาบัน

            ๒.  หมวดวิชาเอก หมายถึง วิชาแกน หรือวิชาเฉพาะด้าน หรือวิชาชีพที่มุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติได้จริง รวมถึงการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตรงของนิสิต ตามสาขาวิชาที่ศึกษา

            ๓.  หมวดวิชาเลือก หมายถึง วิชาที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความรอบรู้ เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ดําเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม พร้อมช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทยและสังคมโลก

            ๔.  วิทยานิพนธ์ หมายถึง งานวิจัยหรือการค้นคว้าที่นิสิตทำเพื่อการศึกษาหรือพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ตามเกณฑ์ของหลักสูตร

            ผู้เข้าศึกษาต้องสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา และทำกิจกรรมทางวิชาการ สัมมนา ศึกษาดูงาน และปฏิบัติกรรมฐาน ตามที่หลักสูตรหรือมหาวิทยาลัยกำหนดขึ้น เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเชี่ยวชาญ และอัตลักษณ์เฉพาะแก่นิสิต สรุปเป็นตารางดังนี้

 

ที่

โครงสร้างหลักสูตร

แผน ก แบบ ก ๒*

หมวดวิชาบังคับ

-

 

   - วิชาบังคับ นับหน่วยกิต

 

   - วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต

(๓)

หมวดวิชาเอก

๒๑

หมวดวิชาเลือก

(๓)

วิทยานิพนธ์

๑๒

รวมทั้งสิ้น

๔๒

            *เลขใน  (....)  เป็นวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก242
ปริญญาโท แบบ ก242

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25491851100167_2104_IP:หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
28/09/2018 09:58:08250.7 KB
CouncilApprove2591.pdf
03/10/2018 14:07:08185.36 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์เกษม แสงนนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์เกษม แสงนนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์พระครูกิตติญาณวิสิฐ (ธนา หอมหวล)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์พระครูกิตติญาณวิสิฐ (ธนา หอมหวล)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส/ แสงทอง) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส/ แสงทอง) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์เกษม แสงนนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์เกษม แสงนนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์บุญเชิด ชำนิศาสตร์ วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์บุญเชิด ชำนิศาสตร์ วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูกิตติญาณวิสิฐ (ธนา หอมหวล)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์พระครูกิตติญาณวิสิฐ (ธนา หอมหวล)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์พระครูภัทรธรรมคุณ (อำนาจ อติภทฺโท/ ปั้นมยุรา)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูภัทรธรรมคุณ (อำนาจ อติภทฺโท/ ปั้นมยุรา)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูวิรุฬห์สุตคุณ (อุดมศักดิ์ อุตฺตมสกฺโก/ อ้นทับ) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูวิรุฬห์สุตคุณ (อุดมศักดิ์ อุตฺตมสกฺโก/ อ้นทับ) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูสถิตบุญวัฒน์ (ชาญ ถิรปุญฺโญ) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูสถิตบุญวัฒน์ (ชาญ ถิรปุญฺโญ) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ (กัติยัง)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ (กัติยัง)วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูสาทรปริยัติคุณ (สนิท ฉนฺทปาโล/ ด้วยอำพันธ์) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูสาทรปริยัติคุณ (สนิท ฉนฺทปาโล/ ด้วยอำพันธ์) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส/ แสงทอง) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์พระครูโอภาสนนทกิตติ์ (ศักดา โอภาโส/ แสงทอง) วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย More Info...
 รองศาสตราจารย์สมศักดิ์ บุญปู่วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Magadh University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์สมศักดิ์ บุญปู่วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Magadh University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์สิน งามประโคนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Educational Administration) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Punjab University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์สิน งามประโคนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Educational Administration) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Punjab University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์สุทธิพงษ์ ศรีวิชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Educational Administration) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Nagpur University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์สุทธิพงษ์ ศรีวิชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Educational Administration) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Nagpur University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์อินถา ศิริวรรณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Educational Administration) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Magadh University, India More Info...
 รองศาสตราจารย์อินถา ศิริวรรณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Educational Administration) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Magadh University, India More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

อาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาคการศึกษา มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์

 
       
     
   

25491851100167_2104_IP:หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1เป็นผู้ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่สังคม
 1เป็นผู้ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่สังคม
 1เป็นผู้ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่สังคม
 1เป็นผู้ที่มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่สังคม
 2มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 2มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 2มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 2มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 3สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมดันดีงาม
 3สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมดันดีงาม
 3สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมดันดีงาม
 3สามารถวินิจฉัยและแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมดันดีงาม
 4มีภาวะผู้นำด้านความประพฤติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 4มีภาวะผู้นำด้านความประพฤติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 4มีภาวะผู้นำด้านความประพฤติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 4มีภาวะผู้นำด้านความประพฤติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญ และนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงาน
 1มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญ และนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงาน
 1มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญ และนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงาน
 1มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญ และนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงาน
 2มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชาพระพุทธศาสนาด้านการบริหารการศึกษาได้
 2มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชาพระพุทธศาสนาด้านการบริหารการศึกษาได้
 2มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชาพระพุทธศาสนาด้านการบริหารการศึกษาได้
 2มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชาพระพุทธศาสนาด้านการบริหารการศึกษาได้
 3มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้กับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวิจัย
 3มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้กับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวิจัย
 3มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้กับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวิจัย
 3มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถประยุกต์หลักธรรมมาใช้กับแนวคิดในทางทฤษฎี ปฏิบัติ และการวิจัย
 4สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับการพัฒนาองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการบริหารการศึกษา
 4สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับการพัฒนาองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการบริหารการศึกษา
 4สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับการพัฒนาองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการบริหารการศึกษา
 4สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับการพัฒนาองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการบริหารการศึกษา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ทางด้านการบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสม
 1สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ทางด้านการบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสม
 1สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ทางด้านการบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสม
 1สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ทางด้านการบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสม
 2สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ
 2สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ
 2สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ
 2สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ
 3สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการบริหารงานได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
 3สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการบริหารงานได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
 3สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการบริหารงานได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
 3สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการบริหารงานได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
 4สามารถตัดสินใจเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
 4สามารถตัดสินใจเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
 4สามารถตัดสินใจเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
 4สามารถตัดสินใจเรื่องที่ซับซ้อนที่เกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องค์กร และสังคม
 1มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องค์กร และสังคม
 1มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องค์กร และสังคม
 1มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องค์กร และสังคม
 2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำองค์กร แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนด้วยตนเอง และเปลี่ยนแปลงสังคมในทางที่เหมาะสม
 2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำองค์กร แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนด้วยตนเอง และเปลี่ยนแปลงสังคมในทางที่เหมาะสม
 2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำองค์กร แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนด้วยตนเอง และเปลี่ยนแปลงสังคมในทางที่เหมาะสม
 2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำองค์กร แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนด้วยตนเอง และเปลี่ยนแปลงสังคมในทางที่เหมาะสม
 3สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้ร่วมงาน
 3สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้ร่วมงาน
 3สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้ร่วมงาน
 3สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้ร่วมงาน
 4แสดงภาวะความเป็นผู้นำในองค์กร บริหารการทำงานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
 4แสดงภาวะความเป็นผู้นำในองค์กร บริหารการทำงานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
 4แสดงภาวะความเป็นผู้นำในองค์กร บริหารการทำงานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
 4แสดงภาวะความเป็นผู้นำในองค์กร บริหารการทำงานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
 5สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุงตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุงตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุงตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุงตนเองและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สำคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านพระพุทธศาสนาในเชิงลึกได้เป็นอย่างดี
 1สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สำคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านพระพุทธศาสนาในเชิงลึกได้เป็นอย่างดี
 1สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สำคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านพระพุทธศาสนาในเชิงลึกได้เป็นอย่างดี
 1สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สำคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านพระพุทธศาสนาในเชิงลึกได้เป็นอย่างดี
 2สามารถสื่อสารด้านการพูด การอ่านการฟังการเขียนการนำเสนอ สื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการวิชาชีพและชุมชนได้อย่างเหมาะสม
 2สามารถสื่อสารด้านการพูด การอ่านการฟังการเขียนการนำเสนอ สื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการวิชาชีพและชุมชนได้อย่างเหมาะสม
 2สามารถสื่อสารด้านการพูด การอ่านการฟังการเขียนการนำเสนอ สื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการวิชาชีพและชุมชนได้อย่างเหมาะสม
 2สามารถสื่อสารด้านการพูด การอ่านการฟังการเขียนการนำเสนอ สื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงการวิชาการวิชาชีพและชุมชนได้อย่างเหมาะสม
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทำวิทยานิพนธ์ รวมทั้งการติดต่อสื่อสาร
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทำวิทยานิพนธ์ รวมทั้งการติดต่อสื่อสาร
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทำวิทยานิพนธ์ รวมทั้งการติดต่อสื่อสาร
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทำวิทยานิพนธ์ รวมทั้งการติดต่อสื่อสาร
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะวิชาชีพ (Continued on the next page)
 1สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
 1สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
 1สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
 1สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
 2สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นําทางวิชาการ เป็นผู้นำความรู้ ความคิด และนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
 2สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นําทางวิชาการ เป็นผู้นำความรู้ ความคิด และนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
 2สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นําทางวิชาการ เป็นผู้นำความรู้ ความคิด และนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
 2สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นําทางวิชาการ เป็นผู้นำความรู้ ความคิด และนำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
 3สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้เห็นความสำคัญของการศึกษาที่จะเป็นเครื่องมือพัฒนาคนในสังคม
 3สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้เห็นความสำคัญของการศึกษาที่จะเป็นเครื่องมือพัฒนาคนในสังคม
 3สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้เห็นความสำคัญของการศึกษาที่จะเป็นเครื่องมือพัฒนาคนในสังคม
 3สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้เห็นความสำคัญของการศึกษาที่จะเป็นเครื่องมือพัฒนาคนในสังคม
 4สามารถบริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นองค์กรที่มีปัจจัยในการบริหาร เช่น บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ วัสดุครุภัณฑ์ เป็นต้น พัฒนาอย่างต่อเนื่อง มั่นคง
 4สามารถบริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นองค์กรที่มีปัจจัยในการบริหาร เช่น บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ วัสดุครุภัณฑ์ เป็นต้น พัฒนาอย่างต่อเนื่อง มั่นคง
Page 1 of 2 (114 items)Prev[1]2Next
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นิสิตมีความรู้และเข้าใจในหลักการบริหารการศึกษา การบริหารสถานศึกษา หน่วยงานทางการศึกษา และสามารถค้นคว้าวิจัยและพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษาได้
1นิสิตมีความรู้และเข้าใจในหลักการบริหารการศึกษา การบริหารสถานศึกษา หน่วยงานทางการศึกษา และสามารถค้นคว้าวิจัยและพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษาได้
2นิสิตมีความเป็นผู้นำทางวิชาการ สามารถพัฒนาหลักสูตร พัฒนาการเรียนการสอน การวัดประเมินผลการเรียนรู้ กิจการและกิจกรรมนักเรียนรวมถึงการประกันคุณภาพการศึกษาได้
2นิสิตมีความเป็นผู้นำทางวิชาการ สามารถพัฒนาหลักสูตร พัฒนาการเรียนการสอน การวัดประเมินผลการเรียนรู้ กิจการและกิจกรรมนักเรียนรวมถึงการประกันคุณภาพการศึกษาได้
3เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด ทฤษีการบริหารการศึกษา สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ การวิจัย และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารการศึกษาได้อย่างมั่นใจ
3เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด ทฤษีการบริหารการศึกษา สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ การวิจัย และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารการศึกษาได้อย่างมั่นใจ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  ผู้เข้าศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

   ๑. จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขา จากสถาบันที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) รับรอง และมีผลการเรียนเฉลี่ย ๒.๕๐ ขึ้นไป ยกเว้นมีประสบการณ์ทำงานติดต่อกันไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่จบการศึกษา หรือ

            ๒.  จบเปรียญธรรม ๙ ประโยค หรือ บาลีศึกษา ๙  จากระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

            ๓.  ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ หรือโรคที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

            ๔.  ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

            ๕.  คุณสมบัติอื่น ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย หรือตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนด

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาโท แบบ ก21120120120120120
20120120120120
A:รวม120240240240240
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0120120120120

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   52500.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

          นิสิตต้องดำเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ครบ จึงจะสำเร็จการศึกษาตามเกณฑ์ของหลักสูตร

๑.  ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้ง เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๒. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ดังกล่าว

๓.  ผ่านการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา ตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกำหนด

๔.  สอบผ่านการประเมินผลวิทยานิพนธ์ และส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

๕.  ต้องสอบผ่านวิชาภาษาต่างประเทศ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

๖.  ปฏิบัติกรรมฐาน สะสมวันได้ไม่น้อยกว่า  ๓๐  วัน  หรือตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
14/11/2018 11:11:301.08 MB