25420041100078_2145_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะพยาบาลศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   22/06/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะพยาบาลศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2540  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Nursing Science  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.2
ปริญญาเอก 2.1
ปริญญาเอก 1.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.พยาบาลศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

 หลักสูตร แบบ 1.1 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

 

 

 

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

ไม่น้อยกว่า           

48

หน่วยกิต

    ก.   กระบวนวิชาเรียน

ไม่มี

 

 

ข.      ปริญญานิพนธ์

 

48

หน่วยกิต

 

 

หลักสูตรแบบ 2.1  สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

 

 

 

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

ไม่น้อยกว่า           

52

หน่วยกิต

    ก.   กระบวนวิชาเรียน

ไม่น้อยกว่า

16

หน่วยกิต

         1.  กระบวนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา

ไม่น้อยกว่า

16

หน่วยกิต

             1.กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ  

ไม่น้อยกว่า

16

หน่วยกิต

                   1.1.1 กระบวนวิชาบังคับ

 

14

หน่วยกิต

                   1.1.2 กระบวนวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า

2

หน่วยกิต

             1.กระบวนวิชานอกสาขาวิชาเฉพาะ  

(ถ้ามี)

 

 

                   1.2.1 กระบวนวิชาบังคับ

ไม่มี

 

 

                   1.2.2 กระบวนวิชาเลือก

(ถ้ามี)

 

 

         2.  กระบวนวิชาระดับปริญญาตรีขั้นสูง

ไม่มี

 

 

ข.      ปริญญานิพนธ์

 

36

หน่วยกิต

 

 

 หลักสูตรแบบ 2.2 สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

 

 

 

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

ไม่น้อยกว่า           

72

หน่วยกิต

    ก.   กระบวนวิชาเรียน

ไม่น้อยกว่า

24

หน่วยกิต

         1.  กระบวนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา

ไม่น้อยกว่า

24

หน่วยกิต

             1.กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ  

ไม่น้อยกว่า

21

หน่วยกิต

                   1.1.1 กระบวนวิชาบังคับ

 

18

หน่วยกิต

                   1.1.2 กระบวนวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า

3

หน่วยกิต

             1.กระบวนวิชานอกสาขาวิชาเฉพาะ  

ไม่น้อยกว่า

3

หน่วยกิต

                   1.2.1 กระบวนวิชาบังคับ

ไม่มี

 

 

                   1.2.2 กระบวนวิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า

3

หน่วยกิต

         2.  กระบวนวิชาระดับปริญญาตรีขั้นสูง

ไม่มี

 

 

ข.      ปริญญานิพนธ์

 

48

หน่วยกิต

 



รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.272
ปริญญาเอก 2.152
ปริญญาเอก 1.148

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25420041100078_2145_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะพยาบาลศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
08/10/2018 12:25:3896.85 KB
CouncilApprove2641.pdf
08/10/2018 12:26:24636.06 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์เกสรา ศรีพิชญาการวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ลินจง โปธิบาลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์สุสัณหา ยิ้มแย้มวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยาณี ตันตรานนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พย.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กุลวดี อภิชาติบุตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: การบริหารการพยาบาล สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ More Info...
 รองศาสตราจารย์เกสรา ศรีพิชญาการวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Washington, Seattle, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินดารัตน์ ชัยอาจวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิราภรณ์ เตชะอุดมเดชวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์จุฑามาศ โชติบางวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑารัตน์ มีสุขโขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ฉวี เบาทรวงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชมพูนุท ศรีรัตน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ชุติมา มีชำนาญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พย.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: พย.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ More Info...
 ศาสตราจารย์ดาราวรรณ ต๊ะปินตาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์เดชา ทำดีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วท.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ More Info...
 รองศาสตราจารย์ทิพาพร วงศ์หงษ์กุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธานี แก้วธรรมานุกูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงค์คราญ วิเศษกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์นงเยาว์ เกษตร์ภิบาลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์นงลักษณ์ เฉลิมสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์นัทธมน วุทธานนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทพร แสนศิริพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์บุญชู อนุสาสนนันท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เบญจมาศ สุขสถิตย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทุม สร้อยวงค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ปิยะนุช ชูโตวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พนิดา จันทโสภีพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์พรรณพิไล ศรีอาภรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่นวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Post-doc Certificate (ประกาศนียบัตรหลังปริญญาเอก) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:King's Collage London, University of London, United Kingdom More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รังสิยา นารินทร์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์โรจนี จินตนาวัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ลินจง โปธิบาลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วณิชา พึ่งชมภูวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วรันธรณ์ จงรุ่งโรจน์สกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วันชัย เลิศวัฒนวิลาศวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์วารุณี ฟองแก้ววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์วิภาดา คุณาวิกติกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: International Health and Policy สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Harvard Universitcy, School of Public Health USA , United States Of America More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีระพร ศุทธากรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีมนา นิยมค้าวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Case Western Reserve University, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริรัตน์ ปานอุทัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:The University of Washington, Seattle More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมใจ ศิระกมลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมบัติ สกุลพรรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุภารัตน์ วังศรีคูณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุมาลี เลิศมัลลิกาพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์สุสัณหา ยิ้มแย้มวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์หรรษา เศรษฐบุปผาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อรอนงค์ วิชัยคำวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์อะเคื้อ อุณหเลขกะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉรา สุคนธสรรพ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัจฉราพร ศรีภูษณาพรรณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์อารีวรรณ กลั่นกลิ่นวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25420041100078_2145_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะพยาบาลศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1แสดงพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความมีจริยธรรม จรรยาบรรณทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพ
 1.2สามารถวิเคราะห์ประเด็นจริยธรรมที่ซับซ้อนทางการพยาบาล ระบบบริการสุขภาพ และวิจัย
 1.3สามารถตัดสินใจโดยใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม
 1.4เป็นผู้นำทางจริยธรรม (Ethical leadership) และเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และคำนึงถึงสิทธิของผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
 1.5ทำหน้าที่แทนวิชาชีพและองค์กรวิชาชีพ (Professional advocacy) ให้วิชาชีพได้รับความน่าเชื่อถือ ศรัทธา และไว้วางใจจากประชาชน
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1อธิบายและวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งในปรัชญา ศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
 2.2อธิบายและวิเคราะห์กลวิธีในการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาลได้อย่างลึกซึ้ง
 2.3อธิบายและวิเคราะห์กระบวนการวิจัยได้อย่างลึกซึ้ง
 2.4อธิบายและวิเคราะห์สถิติขั้นสูงได้อย่างลึกซึ้ง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการความรู้เชิงลึกของศาสตร์ทางการพยาบาลและศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อออกแบบงานวิจัย และ/หรือ พัฒนาคุณภาพการพยาบาล ที่ตอบสนองปัญหาและความต้องการทางด้านสุขภาพของประชาชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
 3.2สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่/นวัตกรรมทางการพยาบาลและสุขภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและปรับปรุงผลลัพธ์ทางการพยาบาล
 3.3สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยและนวัตกรรมด้านการพยาบาลและสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านสุขภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1เป็นผู้นำในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับทีม นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและระบบบริการสุขภาพ
 4.2เป็นผู้นำร่วมกับเครือข่ายในวิชาชีพและสหวิชาชีพเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วยองค์ความรู้ด้านวิชาการและวิจัย
 4.3สนับสนุนและเป็นพี่เลี้ยงให้ผู้อื่นในการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรมทางการพยาบาลและสุขภาพ
 4.4 สามารถชี้นำความถูกต้องด้านสุขภาพให้กับสังคมและพิทักษ์สิทธิเพื่อประโยชน์ให้กับผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการสืบค้น คัดกรอง และใช้สถิติในการวิเคราะห์/แปลผลข้อมูลที่ซับซ้อนด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
 5.2สื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อนได้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในวงวิชาการ วิชาชีพ และสังคม เผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้กับเครือข่ายทีมสุขภาพและผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการในระบบสุขภาพ
 5.3นำเสนองานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยผ่านสิ่งพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพที่มีมาตรฐานทั้งระดับชาติและนานาชาติ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1แบบ 1.1 นักศึกษาผ่านเงื่อนไขภาษาต่างประเทศ ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ เสนอโครงร่าง และทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 6 หน่วยกิต จัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 1 สรุปดังนี้ สามารถเรียนรู้และสังเคราะห์ความรู้เชิงลึกในศาสตร์ที่สำคัญและในแก่นสาระความรู้ทางการพยาบาลหรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความรู้ในสาขาของตน แสดงความมีจริยธรรมทางวิชาการ ผ่านกระบวนการสอบวัดคุณสมบัติ สามารถบูรณการความรู้เชิงลึก ระบุช่องว่างของความรู้ในประเด็นที่สนใจ กำหนดปัญหาการวิจัย และออกแบบโครงร่างการวิจัยเพื่อดุษฎีนิพนธ์ ที่ตอบสนองปัญหาและความต้องการทางด้านสุขภาพของประชาชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และแสดงถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแสดงความรับผิดชอบในการเรียนและการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
1แบบ 2.1 นักศึกษาผ่านการเรียนในกระบวนวิชาของหลักสูตร จำนวน 16 หน่วยกิต เป็นวิชาบังคับ 14 หน่วยกิต วิชาเลือก 2 หน่วยกิต นักศึกษาต้องผ่านเงือนไขภาษาต่างประเทศ ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ และเสนอโครงร่าง ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 1 สรุปดังนี้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความรู้เชิงลึกในศาสตร์ที่สำคัญและในแก่นสาระความรู้ทางการพยาบาลหรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และแสดงความมีจริยธรรมทางวิชาการ ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ สามารถบูรณการความรู้เชิงลึก ระบุช่องว่างของความรู้ในประเด็นที่สนใจ กำหนดปัญหาการวิจัย และออกแบบโครงร่างการวิจัยเพื่อดุษฎีนิพนธ์ ที่ตอบสนองปัญหาและความต้องการทางด้านสุขภาพของประชาชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และแสดงถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแสดงความรับผิดชอบในการเรียนและการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
1แบบ 2.2 นักศึกษาผ่านการเรียนในกระบวนวิชาของหลักสูตร จำนวน 18 หน่วยกิต เป็นวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต วิชาเลือก 2 หน่วยกิต นักศึกษาต้องผ่านเงือนไขภาษาต่างประเทศ ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 1 สรุปดังนี้ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความรู้เชิงลึกในศาสตร์ที่สำคัญและในแก่นสาระความรู้ทางการพยาบาลหรือศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และแสดงความมีจริยธรรมทางวิชาการ ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ สามารถบูรณการความรู้เชิงลึก ระบุช่องว่างของความรู้ในประเด็นที่สนใจ กำหนดปัญหาการวิจัย และออกแบบโครงร่างการวิจัยเพื่อดุษฎีนิพนธ์ ที่ตอบสนองปัญหาและความต้องการทางด้านสุขภาพของประชาชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และแสดงถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแสดงความรับผิดชอบในการเรียนและการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
2แบบ 1.1 ทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 24 หน่วยกิต จัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน ประสบการณ์จาก Research residency ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 2 สรุปดังนี้ สามารถเรียนรู้และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการสืบค้น คัดกรอง และสังเคราะห์ความรู้ ใช้สถิติในการวิเคราะห์/แปลผลข้อมูลที่ซับซ้อนด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการเสนอหัวข้อโครงร่างการวิจัยเพื่อดุษฎีนิพนธ์ โดยยึดหลักจริยธรรม สามารถทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ในสาขาวิชาเฉพาะของตนเอง และประสานงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ผ่านการสัมมนาและประสบการณ์จาก Research residency สามารถดำเนินการวิจัยโดยตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจัย เป็นผู้นำร่วมกับเครือข่ายในวิชาชีพและสหวิชาชีพเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วยองค์ความรู้ด้านวิชาการและวิจัย และมีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมวิชาการตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
2แบบ 2.1 นักศึกษาผ่านการทำดุษฎีนิพนธ์ 24 หน่วยกิต และจัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน มีประสบการณ์จาก Research residency ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 2 สรุปดังนี้ สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการสืบค้น คัดกรอง และสังเคราะห์ความรู้ ใช้สถิติในการวิเคราะห์/แปลผลข้อมูลที่ซับซ้อนด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการเสนอหัวข้อโครงร่างการวิจัยเพื่อดุษฎีนิพนธ์ โดยยึดหลักจริยธรรม สามารถทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ในสาขาวิชาเฉพาะของตนเอง และประสานงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ผ่านการสัมมนาและประสบการณ์จาก Research residency สามารถดำเนินการวิจัยโดยตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจัย เป็นผู้นำร่วมกับเครือข่ายในวิชาชีพและสหวิชาชีพเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วยองค์ความรู้ด้านวิชาการและวิจัย และมีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมวิชาการตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
2แบบ 2.2 นักศึกษาผ่านการเรียนในกระบวนวิชาของหลักสูตร จำนวน 6 หน่วยกิต เป็นวิชาเลือก 6 หน่วยกิต ทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 12 หน่วยกิต จัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน ประสบการณ์จาก Research residency ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 2 สรุปดังนี้ สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการสืบค้น คัดกรอง และสังเคราะห์ความรู้ ใช้สถิติในการวิเคราะห์/แปลผลข้อมูลที่ซับซ้อนด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการเสนอหัวข้อโครงร่างการวิจัยเพื่อดุษฎีนิพนธ์ โดยยึดหลักจริยธรรม สามารถ ทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ในสาขาวิชาเฉพาะของตนเอง และประสานงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ผ่านการสัมมนาและประสบการณ์จาก Research residency สามารถดำเนินการวิจัยโดยตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจัย เป็นผู้นำร่วมกับเครือข่ายในวิชาชีพและสหวิชาชีพเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วยองค์ความรู้ด้านวิชาการและวิจัย และมีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมวิชาการตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
3แบบ 1.1 นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 18 หน่วยกิต สอบดุษฎีนิพนธ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับนานาชาติในวารสารฐาน SCOPUS ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 3 สรุปดังนี้ สามารถแสดงภาวะผู้นำทางวิชาการ ดำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ จริยธรรม ในการแลกเปลี่ยนงานวิชาการหรือผลงานวิจัยกับเครือข่าย เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและระบบบริการสุขภาพ สามารถสื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อนได้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในวงวิชาการ วิชาชีพ เครือข่ายทีมสุขภาพและผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการในระบบสุขภาพ และสังคม ผ่านการนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับชาติและนานาชาติ สามารถเผยแพร่ผลการวิจัยผ่านสิ่งพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพหรือในวารสารระดับชาติและนานาชาติที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในหลักสูตรได้
3แบบ 2.1 นักศึกษาผ่านการทำดุษฎีนิพนธ์ 12 หน่วยกิต และสอบดุษฎีนิพนธ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับนานาชาติในวารสารฐาน SCOPUS ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 3 สรุปดังนี้ แสดงภาวะผู้นำทางวิชาการ ดำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ จริยธรรม ในการแลกเปลี่ยนงานวิชาการหรือผลงานวิจัยกับเครือข่าย เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและระบบบริการสุขภาพ สามารถสื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อนได้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในวงวิชาการ วิชาชีพ เครือข่ายทีมสุขภาพและผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการในระบบสุขภาพ และสังคม ผ่านการนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับชาติและนานาชาติ สามารถเผยแพร่ผลการวิจัยผ่านสิ่งพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพหรือในวารสารระดับชาติและนานาชาติที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในหลักสูตรได้
3แบบ 2.2 นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 12 หน่วยกิต จัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน ประสบการณ์จาก Research residency ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 3 สรุปดังนี้ สามารถทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ในสาขาวิชาเฉพาะของตนเอง และประสานงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ผ่านการสัมมนาและประสบการณ์จาก Research residency สามารถดำเนินการวิจัยโดยตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจัย เป็นผู้นำร่วมกับเครือข่ายในวิชาชีพและสหวิชาชีพเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วยองค์ความรู้ด้านวิชาการและวิจัย และมีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมวิชาการตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
4แบบ 2.2 นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 12 หน่วยกิต จัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน ประสบการณ์จาก Research residency ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 4 สรุปดังนี้ สามารถทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ในสาขาวิชาเฉพาะของตนเอง และประสานงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ผ่านการสัมมนาและประสบการณ์จาก Research residency สามารถดำเนินการวิจัยโดยตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจัย เป็นผู้นำร่วมกับเครือข่ายในวิชาชีพและสหวิชาชีพเพื่อจัดการปัญหาสุขภาพของประชาชนด้วยองค์ความรู้ด้านวิชาการและวิจัย และมีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมวิชาการตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
5แบบ 2.2 นักศึกษาทำดุษฎีนิพนธ์จำนวน 12 หน่วยกิต จัดสัมมนาและนำเสนอผลงาน สอบดุษฎีนิพนธ์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับนานาชาติในวารสารฐาน SCOPUS ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นสุดการเรียนในปีที่ 5 สรุปดังนี้ สามารถแสดงภาวะผู้นำทางวิชาการ ดำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณ จริยธรรม ในการแลกเปลี่ยนงานวิชาการหรือผลงานวิจัยกับเครือข่าย เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและระบบบริการสุขภาพ สามารถสื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อนได้เหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ในวงวิชาการ วิชาชีพ เครือข่ายทีมสุขภาพและผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการในระบบสุขภาพ และสังคม ผ่านการนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมระดับชาติและนานาชาติ สามารถเผยแพร่ผลการวิจัยผ่านสิ่งพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพหรือในวารสารระดับชาติและนานาชาติที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในหลักสูตรได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

 

หลักสูตร แบบ 1.1

1)

เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่องการรับสมัครนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา

2)

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์  

3)

ได้ลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.50

4)

มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์/หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 จากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับ จากประเทศนั้น ๆ

5)

มีผลสอบภาษาอังกฤษ โดยเป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

6)

คุณสมบัตินอกเหนือจากนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

 

หลักสูตรแบบ 2.1 

1)

เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่องการรับสมัครนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา

2)

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์  

3)

ได้ลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.50

4)

มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์/หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 จากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับจากประเทศนั้น ๆ

5)

มีผลสอบภาษาอังกฤษ โดยเป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

6)

คุณสมบัตินอกเหนือจากนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

 

หลักสูตรแบบ 2.2 

1)

เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่องการรับสมัครนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา

2)

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

3)

ได้ลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.75

4)

มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์/หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้น 1 จากสถาบันที่เป็นที่ยอมรับจากประเทศนั้นๆ

5)

มีผลสอบภาษาอังกฤษ โดยเป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

6)

คุณสมบัตินอกเหนือจากนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

    

        

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาเอก 1.1111111
201111
300111
A:รวม12333
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00111
ปริญญาเอก 2.1166666
206666
300666
A:รวม612181818
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00666
ปริญญาเอก 2.2111111
201111
300111
400011
500001
A:รวม12345
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00001

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   42918.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

                   หลักสูตร แบบ 1.1

1.       สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

2.       สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

3.   เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

4.       ผลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับการเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ อย่างน้อย 2 เรื่อง โดย 1 เรื่องต้องอยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, Pubmed หรือ Web of Science และเสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือมีการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร

5.       ผลงานดุษฎีนิพนธ์ที่เผยแพร่ ต้องระบุชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรกอย่างน้อย 1 เรื่อง พร้อมทั้งระบุสังกัดอย่างน้อยว่า “หลักสูตรบัณฑิตศึกษา/ปริญญาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์  คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” ในผลงานเผยแพร่หลัก

6.   เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ว่า ด้วยการพิจาณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะได้รับการเสนอชื่อให้ได้รับปริญญา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2550

 

                   หลักสูตรแบบ 2.1

1.       สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

2.       สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

3.       ศึกษากระบวนวิชาและปฏิบัติครบตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

4.       มีผลการศึกษาได้ค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่น้อยกว่า  3.00  และค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยในสาขาวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า 3.00

5.       เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบัน อุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

6.       ผลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ ได้รับการเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ อย่างน้อย 1 เรื่อง ที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, Pubmed หรือ Web of Science และเสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ มีการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร

7.       ผลงานปริญญานิพนธ์ที่เผยแพร่ ต้องระบุชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 1 เรื่อง พร้อมทั้งระบุสังกัด อย่างน้อยว่า “หลักสูตรบัณฑิตศึกษา/ปริญญาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์  คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” ในผลงานเผยแพร่หลัก

8.       เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการพิจาณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะได้รับการเสนอชื่อให้ได้รับปริญญา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2550

 

                   หลักสูตร แบบ 2 .2

1.       สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

2.       สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

3.       ศึกษากระบวนวิชาและปฏิบัติครบตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

4.       มีผลการศึกษาได้ค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่น้อยกว่า  3.00  และค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยในสาขาวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า 3.00

5.     เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบัน และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

6.       ผลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ ได้รับการเผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ อย่างน้อย 2 เรื่อง โดย 1 เรื่องต้องอยู่ในฐานข้อมูล ISI, Scopus, IEEE, Pubmed หรือ Web of Science และเสนอผลงานดุษฎีนิพนธ์ หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่เป็นที่ยอมรับในสาขาวิชา อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือ มีการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร

7.       ผลงานปริญญานิพนธ์ที่เผยแพร่ ต้องระบุชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก อย่างน้อย 1 เรื่อง พร้อมทั้งระบุสังกัด อย่างน้อยว่า “หลักสูตรบัณฑิตศึกษา/ปริญญาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์  คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” ในผลงานเผยแพร่หลัก

8.       เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการพิจาณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะได้รับการเสนอชื่อให้ได้รับปริญญา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2550

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
22/04/2019 10:45:46166.78 MB