25410171101005_2109_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   26/05/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2541  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Crop Science (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 1.1
ปริญญาเอก 2.1
ปริญญาเอก 2.2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.พืชศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มศึกษา

จำนวนหน่วยกิต

 

 

แบบ 1

แบบ 2

 

แบบ 1.1

แบบ 2.1

แบบ 2.2

รายวิชา

-

 16

 32

  วิชาบังคับ1

-

     4

     6

  วิชาเลือก2

-

   12

    26

  วิทยานิพนธ์3

 64

 48

 64

รวม

 64

 64

 96

                           1 แผนการศึกษา 2.1 เรียนวิชาสัมมนา 4 รายวิชา รวม 4  หน่วยกิต ได้แก่รายวิชา 332781-332784

                              และแผนการศึกษา  2.2 เรียนวิชาสัมมนา 6 รายวิชา รวม 6  หน่วยกิต ได้แก่รายวิชา 332681-332682 และ 332781-332784

                                 2   วิชาเลือกในระดับบัณฑิตศึกษาของสาขาวิชาฯ  หรือรายวิชาของต่างสาขาวิชาฯ/สถาบันการศึกษา โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา

                           3  การทำวิทยานิพนธ์อาจกระทำทั้งหมดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีหรือที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นทั้งภายในและต่างประเทศ
รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 1.164
ปริญญาเอก 2.164
ปริญญาเอก 2.296

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น ชื่อสถาบัน ประเทศ รูปแบบของการร่วม
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
China-YunanAgricultural2015-MoU-IAT.pdf
13/06/2019 16:05:13253.84 KB
China_GZAAS(Rapeseed)_Agreement.pdf
13/06/2019 16:04:36289.04 KB
MOU1_3_5.pdf
13/06/2019 16:07:502 MB
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25410171101005_2109_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
14/10/2018 15:10:12451.21 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิญา เบือนสันเทียะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ดร. (โรคพืช) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย, More Info...
 ศาสตราจารย์ปิยะดา อลิฌาณ์ ตันตสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Plant Breeding สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Cornell University, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดชล วุ้นประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Soil Science สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Kentucky, U.S.A. More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติพร มะชิโกวาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วท.ด. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิญา เบือนสันเทียะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ดร. (โรคพืช) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย, More Info...
 อาจารย์ธีรยุทธ เกิดไทยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (พืชไร่) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยขอนแก่น More Info...
 ศาสตราจารย์ปิยะดา อลิฌาณ์ ตันตสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Plant Breeding สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Cornell University, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เรณู ขำเลิศวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Postharvest Physiology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of the Philippines at Los Bo?os (UPLB) More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดชล วุ้นประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. Soil Science สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Kentucky, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารักษ์ ธีรอำพนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Plant Biotechnology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Toulouse University INP-ENSAT More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบไตรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25410171101005_2109_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1นักศึกษาต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น
 2ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยนำความรู้ที่ได้มา ทำให้เกิดประโยชน์แก่สังคม และพัฒนางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ
 3มีจรรยาบรรณทางวิชาการวิชาชีพ มีวินัย และมีความอ่อนน้อมถ่อมตนตระหนักถึงความเสี่ยงอันเกิดจากการปฏิบัติงานวิจัยและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
 4ปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
 5มีความซื่อสัตย์สุจริตในการวิเคราะห์ข้อมูล การอ้างอิงเอกสารและรายงานผลการวิจัย
 6มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีความขยัน หมั่นเพียร อุตสาหะ ไม่ท้อถอยต่อการเรียนและการปฏิบัติงานวิจัย
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืชระดับสูง
 2มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดิน น้ำ ปุ๋ยระดับสูง และสามารถจัดการดิน น้ำ และปุ๋ย ในการผลิตพืชได้อย่างเหมาะสม
 3มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศัตรูพืช ได้แก่ แมลง โรค และวัชพืชระดับสูง รวมทั้งสามารถป้องกันและกำจัดได้อย่างเหมาะสม
 4มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานการปรับปรุงพันธุ์พืชระดับสูง ทั้งในการคัดเลือก การผสมพันธุ์พืช การใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงพันธุ์พืชที่เหมาะสม
 5มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ระดับสูง สามารถนำไปใช้ในการผลิต การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และจัดการเมล็ดพันธุ์ได้
 6มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาที่เกี่ยวเนื่องทางด้านพืชศาสตร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
 7สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีที่เรียนข้างต้นเข้ากับงานวิจัย เพื่อให้สามารถต่อยอดและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของงานวิจัยในระดับสูงได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ ทรัพย์สินทางปัญญา และงานวิจัยหรือแหล่งเรียนรู้อื่น แล้วนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
 2สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน
 3สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1นักศึกษาต้องมีทักษะการสื่อสารเพื่อให้ข้อมูลและสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกันรวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม
 2มีทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกันเป็นทีม
 3นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นในด้านการศึกษาค้นคว้าและรับผิดชอบในงานที่มอบหมายจัดทำให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา ตลอดจนวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
 4นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษา และการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์ และบุคคลอื่น และสามารถใช้ความรู้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
 2สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่างๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
 4สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1. สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
  1 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืชระดับสูง(2)
  2 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดิน น้ำ ปุ๋ยระดับสูง และสามารถจัดการดิน น้ำ และปุ๋ย ในการผลิตพืชได้อย่างเหมาะสม(2)
  3 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศัตรูพืช ได้แก่ แมลง โรค และวัชพืชระดับสูง รวมทั้งสามารถป้องกันและกำจัดได้อย่างเหมาะสม(2)
  4 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานการปรับปรุงพันธุ์พืชระดับสูง ทั้งในการคัดเลือก การผสมพันธุ์พืช การใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงพันธุ์พืชที่เหมาะสม(2)
  5 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ระดับสูง สามารถนำไปใช้ในการผลิต การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และจัดการเมล็ดพันธุ์ได้(2)
  6 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาที่เกี่ยวเนื่องทางด้านพืชศาสตร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง(2)
  7 :สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีที่เรียนข้างต้นเข้ากับงานวิจัย เพื่อให้สามารถต่อยอดและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของงานวิจัยในระดับสูงได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ ทรัพย์สินทางปัญญา และงานวิจัยหรือแหล่งเรียนรู้อื่น แล้วนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม(2)
[Collapse]PLO: 2. คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(3)
  2 :สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน(3)
  3 :สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ(3)
[Collapse]PLO: 3. สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
  1 :สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(3)
  2 :สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน(3)
  3 :สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ(3)
[Collapse]PLO: 4. สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(5)
  2 :สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่างๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม(5)
  4 :สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 5. มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
  1 :นักศึกษาต้องมีทักษะการสื่อสารเพื่อให้ข้อมูลและสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกันรวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม(4)
  2 :มีทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกันเป็นทีม(4)
  3 :นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นในด้านการศึกษาค้นคว้าและรับผิดชอบในงานที่มอบหมายจัดทำให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา ตลอดจนวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ(4)
  4 :นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษา และการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์ และบุคคลอื่น และสามารถใช้ความรู้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม(4)
[Collapse]PLO: 6. สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(5)
  2 :สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่างๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม(5)
  4 :สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 7. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
  1 :สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(5)
  2 :สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่างๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม(5)
  4 :สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 8. มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
  1 :นักศึกษาต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น(1)
  2 :ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยนำความรู้ที่ได้มา ทำให้เกิดประโยชน์แก่สังคม และพัฒนางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ(1)
  3 :มีจรรยาบรรณทางวิชาการวิชาชีพ มีวินัย และมีความอ่อนน้อมถ่อมตนตระหนักถึงความเสี่ยงอันเกิดจากการปฏิบัติงานวิจัยและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่(1)
  4 :ปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม(1)
  5 :มีความซื่อสัตย์สุจริตในการวิเคราะห์ข้อมูล การอ้างอิงเอกสารและรายงานผลการวิจัย(1)
  6 :มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีความขยัน หมั่นเพียร อุตสาหะ ไม่ท้อถอยต่อการเรียนและการปฏิบัติงานวิจัย(1)
[Collapse]PLO: 9. สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัย/นวัตกรรมทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(3)
  2 :สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน(3)
  3 :สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ(3)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
123456123456712312341234
1. สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2. คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
3. สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
5. มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
6. สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
7. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
8. มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
9. สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัย/นวัตกรรมทางด้านพืชศาสตร์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
1คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
1สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
1มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
1สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
1สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
1มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
2สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
2มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
2สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
3สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
3คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
3สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
3สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
3มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
3สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
3มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
4สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
4คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
4สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
4สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
4มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
4สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
4สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
5สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
5คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
5สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
5สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
5มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
5สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
5สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
5มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
5สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัย/นวัตกรรมทางด้านพืชศาสตร์

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี  ว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษา

            1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือมีหลักฐานรับรองว่าจะสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทหรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือ

            2. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีเกียรตินิยมหรือเทียบเท่าจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือมีหลักฐานรับรองว่าจะสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรองในสาขาวิชาเดียวกันกับสาขาของหลักสูตรปริญญาเอกที่จะเข้า โดยมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมนับถึงภาคการศึกษาก่อนสดท้ายไม่ต่ำกว่าเกณฑ์เกียรตินิยมของสถาบันที่กำลังศึกษา

            3. ผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรปริญญาเอกที่เน้นเฉพาะการทำวิจัยต้อง

                (1)เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโทที่มีการทำวิทยานิพนธ์ และ

                (2) มีประสบการณ์วิจัยในสายงานโดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการที่สาขาวิชายอมรับ หรือ มีประสบการณ์ในการทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 2 ปี

            และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด

            เกณฑ์การสอบภาษาอังกฤษ การรับเข้าศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ หลักสูตรนานาชาติ (ปรับปรุง พ.ศ. 2561)

1. IELTS  ไม่น้อยกว่า   4.2

2. TOEIC  ไม่น้อยกว่า  450

3. TOEFL (Paper) ไม่น้อยกว่า 455

4. TOEFL (CBT) ไม่น้อยกว่า 137

5. TOEFL (IBT) ไม่น้อยกว่า 46

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาเอก 1.1111111
201111
300111
A:รวม12333
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00111
ปริญญาเอก 2.1133333
203333
300333
A:รวม36999
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00333
ปริญญาเอก 2.2111111
201111
300111
400011
500001
A:รวม12345
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00001

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   1152000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
- แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว
              แบบ 1.1 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรต้องไม่น้อยกว่า 64 หน่วยกิต
 แบบ 1.1  นักศึกษาจะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการ ซึ่งคณบดีเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งตามความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำสำนักวิชาฯ ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
              สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ทุกระดับ ต้องมีปริมาณและคุณภาพไม่ต่ำกว่ามหาวิทยาลัยกำหนด
- แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และเรียนรายวิชา
              แบบ 2.1 สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาโท ต้องเรียนวิชาบังคับ จำนวน 4 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และวิชาวิทยานิพนธ์จำนวนไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 64  หน่วยกิต
              แบบ 2.2  สำหรับผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ต้องเรียนวิชาบังคับ จำนวน 6 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 26 หน่วยกิต และวิชาวิทยานิพนธ์จำนวนไม่น้อยกว่า 64 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 96  หน่วยกิต และต้องได้รับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
ทั้ง แบบ 2.1 และแบบ 2.2  นักศึกษาจะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการ ซึ่งคณบดีเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งตามความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำสำนักวิชาฯ ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายใน และภายนอกสถาบัน และเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
             สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ทุกระดับ ต้องมีปริมาณและคุณภาพไม่ต่ำกว่ามหาวิทยาลัยกำหนด
            



 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
11/06/2019 17:26:2115.72 MB