25410171100994_2130_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   26/05/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2541  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Crop Science (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
ปริญญาโท แบบ ก1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.S.พืชศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

 โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชา/กลุ่มศึกษา

จำนวนหน่วยกิต

 

 

แบบ ก 1

แบบ ก 2

รายวิชา

-

 20

  วิชาบังคับ1

-

     2

  วิชาเลือก2

-

 18

  วิทยานิพนธ์3

 46

 26

รวม

 46

 46

                                          1 วิชาสัมมนา 2 รายวิชา รวม 2 หน่วยกิต

                                                     2  วิชาเลือกในระดับบัณฑิตศึกษาของสาขาวิชาฯ  หรือรายวิชาของต่างสาขาวิชาฯ/สถาบันการศึกษา โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา

                                           3 การทำวิทยานิพนธ์อาจกระทำทั้งหมดที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีหรือที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยอื่นทั้งภายในและต่างประเทศ
รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก246
ปริญญาโท แบบ ก146

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรที่ได้รับความร่วมมือสนับสนุนจากสถาบันอื่น ชื่อสถาบัน ประเทศ รูปแบบของการร่วม
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
China-YunanAgricultural2015-MoU-IAT.pdf
13/06/2019 15:53:42253.84 KB
China_GZAAS(Rapeseed)_Agreement.pdf
13/06/2019 15:53:20289.04 KB
MOU1_3_5.pdf
13/06/2019 16:09:062 MB
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25410171100994_2130_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
14/10/2018 13:29:54451.21 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิญา เบือนสันเทียะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ดร. (โรคพืช) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย, More Info...
 ศาสตราจารย์ปิยะดา อลิฌาณ์ ตันตสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Plant Breeding สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Cornell University, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดชล วุ้นประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Soil Science สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Kentucky, U.S.A. More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิติพร มะชิโกวาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วท.ด. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:ม.เทคโนโลยีสุรนารี More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฐธิญา เบือนสันเทียะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ดร. (โรคพืช) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย, More Info...
 อาจารย์ธีรยุทธ เกิดไทยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (พืชไร่) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:ม.ขอนแก่น More Info...
 ศาสตราจารย์ปิยะดา อลิฌาณ์ ตันตสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Plant Breeding สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Cornell University, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เรณู ขำเลิศวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Postharvest Physiology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of the Philippines at Los Bo?os (UPLB) More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดชล วุ้นประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Soil Science สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Kentucky, U.S.A. More Info...
 อาจารย์แหวนพลอย จินากูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Physiology and Molecular Genetics) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University Blaise Pascal More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อารักษ์ ธีรอำพนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Plant Biotechnology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Toulouse University INP-ENSAT More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบไตรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25410171100994_2130_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1นักศึกษาต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น
 2มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยนำความรู้ที่ได้มาทำให้เกิดประโยชน์แก่สังคม และพัฒนางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ
 3มีจรรยาบรรณทางวิชาการ วิชาชีพ มีวินัย และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ตระหนักถึงความเสี่ยงอันเกิดจากการปฏิบัติงานวิจัยและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่
 4ปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
 5มีความซื่อสัตย์สุจริตในการวิเคราะห์ข้อมูล การอ้างอิงเอกสารและรายงานผลการวิจัย
 6มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีความขยัน หมั่นเพียร อุตสาหะ ไม่ท้อถอยต่อการเรียนและการปฏิบัติงานวิจัย
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืชระดับสูง
 2มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดิน น้ำ ปุ๋ยระดับสูง และสามารถจัดการดิน น้ำ และปุ๋ย ในการผลิตพืชได้อย่างเหมาะสม
 3มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศัตรูพืช ได้แก่ แมลง โรค และวัชพืชระดับสูง รวมทั้งสามารถป้องกันและกำจัดได้อย่างเหมาะสม
 4มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานการปรับปรุงพันธุ์พืชระดับสูง ทั้งในการคัดเลือก การผสมพันธุ์พืช การใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงพันธุ์พืชที่เหมาะสม
 5มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ระดับสูง สามารถนำไปใช้ในการผลิต การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และจัดการเมล็ดพันธุ์ได้
 6มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาที่เกี่ยวเนื่องทางด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
 7สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีที่เรียนข้างต้นเข้ากับงานวิจัย เพื่อให้สามารถต่อยอดและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของงานวิจัยในระดับสูงได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ ทรัพย์สินทางปัญญา และงานวิจัยหรือแหล่งเรียนรู้อื่น แล้วนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
 2สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน
 3สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1นักศึกษาต้องมีทักษะการสื่อสารเพื่อให้ข้อมูลและสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกันรวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม
 2มีทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกันเป็นทีม
 3นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นในด้านการศึกษาค้นคว้าและรับผิดชอบในงานที่มอบหมายจัดทำให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา ตลอดจนวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
 4นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษา และการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์ และบุคคลอื่น และสามารถใช้ความรู้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
 2สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่าง ๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม
 4สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1. สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
  1 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืชระดับสูง(2)
  2 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดิน น้ำ ปุ๋ยระดับสูง และสามารถจัดการดิน น้ำ และปุ๋ย ในการผลิตพืชได้อย่างเหมาะสม(2)
  3 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศัตรูพืช ได้แก่ แมลง โรค และวัชพืชระดับสูง รวมทั้งสามารถป้องกันและกำจัดได้อย่างเหมาะสม(2)
  4 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานการปรับปรุงพันธุ์พืชระดับสูง ทั้งในการคัดเลือก การผสมพันธุ์พืช การใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงพันธุ์พืชที่เหมาะสม(2)
  5 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ระดับสูง สามารถนำไปใช้ในการผลิต การจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และจัดการเมล็ดพันธุ์ได้(2)
  6 :มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิชาที่เกี่ยวเนื่องทางด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง(2)
  7 :สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีที่เรียนข้างต้นเข้ากับงานวิจัย เพื่อให้สามารถต่อยอดและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของงานวิจัยในระดับสูงได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากเอกสารทางวิชาการ หนังสือ ทรัพย์สินทางปัญญา และงานวิจัยหรือแหล่งเรียนรู้อื่น แล้วนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม(2)
[Collapse]PLO: 2. คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(3)
  2 :สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน(3)
  3 :สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ(3)
[Collapse]PLO: 3. สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
  1 :สามารถสืบค้นข้อมูล วารสาร งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการวิจารณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(3)
  2 :สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์และใช้งานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ร่วมกับการใช้ทฤษฎีที่ได้ในชั้นเรียน(3)
  3 :สามารถแสดงข้อคิดเห็นและความคิดสร้างสรรค์ต่อการเรียน การวิจัย เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อนได้ รวมทั้งสามารถสรุปและให้ข้อเสนอแนะ(3)
[Collapse]PLO: 4. สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(5)
  2 :สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่าง ๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม(5)
  4 :สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 5. มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
  1 :นักศึกษาต้องมีทักษะการสื่อสารเพื่อให้ข้อมูลและสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกันรวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม(4)
  2 :มีทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกันเป็นทีม(4)
  3 :นักศึกษามีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง เน้นในด้านการศึกษาค้นคว้าและรับผิดชอบในงานที่มอบหมายจัดทำให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา ตลอดจนวางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ(4)
  4 :นักศึกษามีทักษะการปฏิบัติหน้าที่ที่ดีของนักศึกษา และการปฏิบัติตัวที่ดีต่ออาจารย์ และบุคคลอื่น และสามารถใช้ความรู้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม(4)
[Collapse]PLO: 6. สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
  1 :สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(5)
  2 :สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่าง ๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม(5)
  4 :สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 7. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
  1 :สามารถวิเคราะห์เชิงตัวเลขในข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชในด้านต่าง ๆ เช่น การคำนวณปริมาณน้ำ ปุ๋ย สารเคมีต่าง ๆ เพื่อใช้ในการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม(5)
  2 :สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด การเขียน รวมถึงการรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ในด้านต่าง ๆ ได้ โดยรู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้จากทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านพืชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม(5)
  4 :สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 8. มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
  1 :นักศึกษาต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น(1)
  2 :มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยนำความรู้ที่ได้มาทำให้เกิดประโยชน์แก่สังคม และพัฒนางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ(1)
  3 :มีจรรยาบรรณทางวิชาการ วิชาชีพ มีวินัย และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ตระหนักถึงความเสี่ยงอันเกิดจากการปฏิบัติงานวิจัยและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่(1)
  4 :ปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม(1)
  5 :มีความซื่อสัตย์สุจริตในการวิเคราะห์ข้อมูล การอ้างอิงเอกสารและรายงานผลการวิจัย(1)
  6 :มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีความขยัน หมั่นเพียร อุตสาหะ ไม่ท้อถอยต่อการเรียนและการปฏิบัติงานวิจัย(1)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
123456123456712312341234
1. สามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2. คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
3. สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
5. มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
6. สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
7. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
8. มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
1มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
1มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
1สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
1สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
1สามารถอธิบายหลักการทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
2ความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และมีความเป็นผู้นำ
2มีทัศนคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการประกอบวิชาชีพและงานวิจัยทางด้านพืชศาสตร์
2สามารถนำเสนอและถ่ายทอดความรู้ทางด้านพืชศาสตร์
2สามารถสร้างสรรค์และบูรณาการความรู้ด้านพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2สามารถอธิบายหลักการทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพืชศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรองหรือมีหลักฐานรับรองว่าจะสำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยรับรอง และต้องมีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2. แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือเทียบเท่า หรือ
3. หากไม่เป็นไปตามข้อ 2 ต้องมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยในวิชาเอกของหลักสูตรปริญญาโทที่จะเข้าศึกษาไม่ต่ำกว่า 2.75 หรือเทียบเท่า หรือมีประสบการณ์การทำงานในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่จะเข้าศึกษา โดยมีหนังสือรับรองจากหน่วยงานหรือจากผู้บังคับบัญชาว่ามีศักยภาพที่จะศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้
4. ผู้สมัครเข้าศึกษาทุกหลักสูตร ต้องไม่เป็นผู้พ้นสถานภาพนักศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษา เนื่องจากผลการสอบ หรือผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ หรือกระทำผิดวินัยนักศึกษา หรือยังไม่สำเร็จการศึกษาเมื่อครบกำหนดเวลาสูงสุดแล้วในหลักสูตรและระดับการศึกษาที่จะเข้าศึกษา
5. มีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
6. สภาวิชาการโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประจำสำนักวิชาอาจพิจารณายกเว้นคุณสมบัติตามที่กำหนดข้างต้นได้เป็นกรณีไป
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก111010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   148000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
  เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
- แบบ ก1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์เพียงอย่างเดียว ซึ่งมีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 46 หน่วยกิต
        นักศึกษาจะต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ภายใน 4 ภาคการศึกษา เพื่อวัดความสามารถและศักยภาพในการนำหลักวิชาการและประสบการณ์เรียนไปประยุกต์ในการปฏิบัติงานหรือการค้นคว้าวิจัย และต้องผ่านความเห็นชอบโ่ครงร่างวิทยานิพนธ์ ภายใน 5 ภาคการศึกษา และเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งคณบดีเป็นพิจารณาแต่งตั้งตามความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำสำนักวิชาฯ
              และผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดำเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมูบรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการรประชุมวิชาการ (Proceedings)
- แบบ ก2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการทำวิทยานิพนธ์และการเรียนรายวิชา โดยมีการเรียนวิชาบังคับ จำนวน 2 หน่วยกิต วิชาเลือกจำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์จำนวนไม่น้อยกว่า 26 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 46 หน่วยกิต
        นักศึกษาจะต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ภายใน 4 ภาคการศึกษา เพื่อวัดความสามารถและศักยภาพในการนำหลักวิชาการและประสบการณ์เรียนไปประยุกต์ในการปฏิบัติงานหรือการค้นคว้าวิจัย และต้องผ่านความเห็นชอบโ่ครงร่างวิทยานิพนธ์ ภายใน 5 ภาคการศึกษา และเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งคณบดีเป็นพิจารณาแต่งตั้งตามความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำสำนักวิชาฯ
         และผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดำเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอดรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นำเสนอฉบับสมูบรณ์ (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
14/08/2019 16:18:017.13 MB