25410041100088_2148_IP:หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   26/05/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะวิศวกรรมศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2530  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program in Civil Engineering  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
ปริญญาโท แบบ ก1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Engineeringวศ.ม.M.Eng.วิศวกรรมโยธา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

แบบ 1 (แผน ก แบบ ก 1)

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร                                             36      หน่วยกิต

ก. กระบวนวิชาเรียน                                                               -ไม่มี-

     ข. ปริญญานิพนธ์                                                                    36      หน่วยกิต

แบบ 2 (แผน ก แบบ ก 2)

จำนวนหน่วยกิตรวมสะสมตลอดหลักสูตร        ไม่น้อยกว่า               36      หน่วยกิต

ก. กระบวนวิชาเรียน                                   ไม่น้อยกว่า               24      หน่วยกิต

1. กระบวนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา         ไม่น้อยกว่า              24      หน่วยกิต

                  1.1 กระบวนวิชาในสาขาวิชาเฉพาะ       ไม่น้อยกว่า              24      หน่วยกิต

  1.1.1 กระบวนวิชาบังคับ                                               9      หน่วยกิต

  1.1.2 กระบวนวิชาเลือก                ไม่น้อยกว่า               15      หน่วยกิต

1.2 กระบวนวิชานอกสาขาวิชาเฉพาะ                                -ไม่มี-

2. กระบวนวิชาในระดับปริญญาตรีขั้นสูง                                -ไม่มี-

ข. ปริญญานิพนธ์                                                                      12      หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236
ปริญญาโท แบบ ก136

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25410041100088_2148_IP:หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2516  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
28/12/2018 15:53:314.35 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์ธนพร สุปริยศิลป์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Alabama, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พุทธิพล ดำรงชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Ohio State University, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถวิทย์ อุปโยคินวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Texas at Arlington, Texas, USA. More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เกรียงไกร อรุโณทยานันท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Imperial College London, United Kingdom More Info...
 รองศาสตราจารย์ชยานนท์ หรรษภิญโญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชินพัฒน์ บัวชาติวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:AIT More Info...
 รองศาสตราจารย์ชูโชค อายุพงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยขอนแก่น More Info...
 อาจารย์ทรงยศ กิจธรรมเกษรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Utah State University, USA More Info...
 รองศาสตราจารย์ธนพร สุปริยศิลป์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Alabama, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธวัชชัย ตันชัยสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: D.Eng. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:AIT More Info...
 อาจารย์ธีวรา สุวรรณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Brunel University, United Kingdom More Info...
 อาจารย์นพดล กรประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Virginia Polytechnic Institute and State University, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรีดา พิชยาพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Hokkaido University, Japan More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิติวัฒน์ วัฒนชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Tokyo Institute of Technology, Japan More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปุ่น เที่ยงบูรณธรรมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Colorado at Boulder, USA. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พีรพงศ์ จิตเสงี่ยมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Curtin University of Technology, Australia More Info...
 อาจารย์พุทธรักษ์ จรัสพันธุ์กุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: D.Eng. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kyoto University Japan More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พุทธิพล ดำรงชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Ohio State University, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มานพ แก้วโมราเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:lowa State University, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Old Dominion University, USA More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุริยะ ทองมุณีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kanazawa University, Japan More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถวิทย์ อุปโยคินวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Texas at Arlington, Texas, USA. More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25410041100088_2148_IP:หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
 1.4เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2สามารถวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
 2.3สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 2.4สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
 3.2สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
 3.3สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
 4.3มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
 5.2สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือนำสถิติมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
 5.3สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1แบบ 1 : ในปีการศึกษาที่ 1 นักศึกษาได้มีการทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต (ตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต) โดยจะมีกิจกรรมทางวิชาการที่สอดคล้องกับการทำวิจัยวิทยานิพนธ์ คือ จัดสัมมนา นำเสนอผลงาน และจัดทำรายงานความก้าวหน้า 2 ครั้ง ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นการศึกษาในปีที่ 2 คือ นักศึกษาสามารถประยุกใช้ความรู้ทางวิศวกรรมโยธาและทักษะต่าง ๆ ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโยธา ผ่านการดำเนินงานวิจัยวิทยานิพนธ์ แบบ 2 : นักศึกษาผ่านการศึกษาในกระบวนวิชาของหลักสูตร จำนวน 24 หน่วยกิต เป็นกระบวนวิชาบังคับ 9 หน่วยกิต และกระบวนวิชาเลือก 15 หน่วยกิต ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นการศึกษาในปีที่ 1 โดยสรุปดังนี้ มีคุณธรรม จริยธรรม และตระหนักในจรรยาบรรณวิชาชีพและความเป็นไปในสังคมและโลกแวดล้อม มีวินัยและความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธา และสามารถประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมโยธา ได้ผ่านการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ได้แก่ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบโครงสร้างพื้นฐาน อันประกอบด้วย ศาสตร์ทางด้านการจราจรและขนส่ง ทรัพยากรน้ำ สิ่งก่อสร้าง ธรณีเทคนิค การสำรวจรังวัด และระบบราง เพื่อให้การพัฒนาองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ ในทางวิศวกรรมโยธา
2แบบ 1 : ในปีการศึกษาที่ 2 นักศึกษาได้มีการทำวิทยานิพนธ์ 24 หน่วยกิต (ตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต) โดยจะมีกิจกรรมทางวิชาการที่สอดคล้องกับการทำวิจัยวิทยานิพนธ์ คือ จัดสัมมนา นำเสนอผลงาน และจัดทำรายงานความก้าวหน้า 2 ครั้ง ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นการศึกษาในปีที่ 2 คือ นักศึกษาสามารถประยุกใช้ความรู้ทางวิศวกรรมโยธาและทักษะต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาในชั้นปีที่ 1 ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโยธา ผ่านการดำเนินงานวิจัยวิทยานิพนธ์ และนักศึกษาเข้าใจขั้นตอนและกระบวนการวิจัย และสามารถสืบค้นข้อมูลผ่านเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถเขียนบทความทางวิชาการเพื่อเผยแพร่และตีพิมพ์ผ่านวารสารทางวิชาการได้ สามารถสื้อสารและนำเสนอผลงานวิจัยต่อสาธารณะได้ แบบ 2 : ในปีการศึกษาที่ 2 นักศึกษาได้มีการทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต โดยจะมีกิจกรรมทางวิชาการที่สอดคล้องกับการทำวิจัยวิทยานิพนธ์ คือ จัดสัมมนา นำเสนอผลงาน และจัดทำรายงานความก้าวหน้า 2 ครั้ง ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นการศึกษาในปีที่ 2 คือ นักศึกษาสามารถประยุกใช้ความรู้ทางวิศวกรรมโยธาและทักษะต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาในชั้นปีที่ 1 ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโยธา ผ่านการดำเนินงานวิจัยวิทยานิพนธ์ และนักศึกษาเข้าใจขั้นตอนและกระบวนการวิจัย และสามารถสืบค้นข้อมูลผ่านเทคโนโลยีสื่อสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สามารถเขียนบทความทางวิชาการเพื่อเผยแพร่และตีพิมพ์ผ่านวารสารทางวิชาการได้ สามารถสื้อสารและนำเสนอผลงานวิจัยต่อสาธารณะได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

แบบ 1 (แผน ก แบบ ก 1)

1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการ รับรองมาตรฐานจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (..)

2.    มีผลการเรียนดีเด่นโดยได้รับเกียรตินิยม หรือเป็นผู้เคยมีประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้า  วิเคราะห์  วิจัยไม่น้อยกว่า 2 ปี

3.      ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง การรับสมัครเข้าศึกษาต่อในแต่ละปีการศึกษา

4.      คุณสมบัติอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

แบบ 2 (แผน ก แบบ ก 2)

1.  สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับการรับมาตรฐานจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (..)

2.        ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง การรับสมัครเข้าศึกษาต่อในแต่ละปีการศึกษา

3.         คุณสมบัติอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก1155555
205555
A:รวม510101010
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ05555
ปริญญาโท แบบ ก213030303030
2030303030
A:รวม3060606060
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ030303030

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   42500.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

หลักสูตร แบบ 1 (แผน  ก แบบ ก1)

1.       สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

2.      ปฏิบัติครบตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

3.      สอบผ่านการสอบประเมินผลปริญญานิพนธ์ และเปิดโอกาสให้ผู้สนใจเข้าร่วมฟังการนำเสนอผลการทำปริญญานิพนธ์ และ/หรือ ซักถามได้ 

4. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer reviews) อย่างน้อย เรื่อง หรือ ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการจดสิทธิบัตรเป็นที่เรียบร้อยอย่างน้อย ชิ้น หรือ ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI Tier อย่างน้อยเรื่อง และ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการในระดับชาติ ในที่ประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการในระดับนานาชาติโดยเผยแพร่บทความฉบับเต็ม (Full paper) ที่ผ่านการพิจารณาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในเอกสารเผยแพร่การประชุมวิชาการ (Proceeding) ที่ยอมรับในสาขา อย่างน้อย เรื่อง โดยผลงานวิทยานิพนธ์หลักที่เผยแพร่ต้องระบุชื่อของนักศึกษาเป็นชื่อแรกอย่างน้อย เรื่อง หรือเป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

5. เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการพิจารณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะได้รับการเสนอให้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง อนุปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2550

            

หลักสูตร แบบ 2 (แผน  ก แบบ ก2)

1.       สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

2.      ศึกษากระบวนวิชา และปฏิบัติครบตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

3.   มีผลการศึกษาได้ค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่น้อยกว่า  3.00  และค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ย  ในสาขาวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า 3.00

4.  สอบผ่านการสอบประเมินผลปริญญานิพนธ์ และเปิดโอกาสให้ผู้สนใจเข้าร่วมฟังการนำเสนอผลการทำปริญญานิพนธ์ และ/หรือ ซักถามได้ 

5. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรือยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีกรรมการภายนอกร่วมกลั่นกรอง (Peer reviews) อย่างน้อย เรื่อง หรือ ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการจดสิทธิบัตรเป็นที่เรียบร้อยอย่างน้อย ชิ้น หรือ ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI Tier อย่างน้อย เรื่อง หรือ นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการในระดับชาติ ในที่ประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการในระดับนานาชาติโดยเผยแพร่บทความฉบับเต็ม (Full paper) ที่ผ่านการพิจารณาจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในเอกสารเผยแพร่การประชุมวิชาการ (Proceeding) ที่ยอมรับในสาขา อย่างน้อย เรื่อง โดยผลงานวิทยานิพนธ์ที่เผยแพร่ต้องระบุชื่อของนักศึกษาเป็นชื่อแรกอย่างน้อย เรื่อง หรือเป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

6. ศักดิ์ของนักศึกษาที่จะได้รับการเสนอให้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง อนุปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2550

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
25/06/2019 13:46:4218.34 MB