25401981100678_2068_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   11/07/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2548  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2554  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Food Science and Technology  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามพระราชกฤษฏีกาวิทยาศาสตรบัณฑิตBachelor of Scienceวท.บ.B.Sc.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                             30      หน่วยกิต

                1.  กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์                                          6      หน่วยกิต

                2.  กลุ่มวิชาภาษา                                                        13      หน่วยกิต

                3.  กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์                               11      หน่วยกิต

            ข. หมวดวิชาเฉพาะ                                                        92      หน่วยกิต

                1.  กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                              37      หน่วยกิต

                2.  กลุ่มวิชาชีพบังคับ                                                    36      หน่วยกิต

3.  กลุ่มวิชาชีพเลือก                                                     12      หน่วยกิต

4.  กลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์วิชาชีพ                               7      หน่วยกิต

            ค.  หมวดวิชาเลือกเสรี                                                        6      หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ128

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25401981100678_2068_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
10/09/2018 16:12:303.1 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิจิตรา เหลียวตระกูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุณิสา สุวรรณพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุภาพร พาเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:เกษตรศาสตร์ More Info...
 อาจารย์เสน่ห์ บัวสนิทวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์จันทร์เพ็ญ บุตรใสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิจิตรา เหลียวตระกูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุณิสา สุวรรณพันธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุภาพร พาเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:เกษตรศาสตร์ More Info...
 อาจารย์เสน่ห์ บัวสนิทวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

ารจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ไม่น้อยกว่า 9 สัปดาห์ หรือขึ้นอยู่กับการพิจารณาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 
       
     
   

25401981100678_2068_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย อดกลั้น รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
 2มีการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 3มีการให้เกียรติผู้อื่น สุภาพ อ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ
 4มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีโลกทัศน์และความรอบรู้ในศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของชีวิต
 2สามารถนำความรู้ ความเข้าใจมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันและการแข่งขันได้อย่างเป็นธรรมเหมาะสมกับสถานการณ์
 3เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ตลอดจนศิลปะ วัฒนธรรม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1มีทักษะการแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
 2มีวิจารณญาณในการนำความรู้ไปใช้ดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
 3มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
 4สามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีระบบ และเชื่อมโยงกระบวนการคิดแบบต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างรอบด้านและมีประสิทธิภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีจิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
 2มีภาวะผู้นำและผู้ตามที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 3สามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม
 4เป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าสารสนเทศอย่างเหมาะสม
 2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร สืบค้นข้อมูล รวบรวม วิเคราะห์ และนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
 3ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เพื่อประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
 4ใช้ภาษาสื่อสาร สื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
 2มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ รักษาสิทธิของตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 4สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อบุคคล องค์กร สังคมและ สิ่งแวดล้อม
 5มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
 2มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
 3สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 4สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
 5สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
 2สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ในภาคปฏิบัติ และผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น
 3สามารถใช้ทักษะและความรู้ ความเข้าใจอันถ่องแท้ในกลุ่มวิชาที่เกี่ยวข้อง ในบริบทของวิชาชีพและวิชาการ ได้แก่การดูแลจัดการผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง
 4มีทักษะปฏิบัติตามที่ได้รับการฝึกฝน จากเนื้อหาสำคัญของสาระวิชา
 5สามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ/หรือภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในวิชาที่ศึกษามาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
 2สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
 3สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
 4รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
 5มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
 2มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้
 3สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
 4มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
 5สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องได้
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: ประยุกต์ใช้ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการวิเคราะห์ ประเมิน และแก้ไขปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
  2 :มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร(2)
  3 :สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง(2)
  4 :สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม(2)
  3 :สามารถใช้ทักษะและความรู้ ความเข้าใจอันถ่องแท้ในกลุ่มวิชาที่เกี่ยวข้อง ในบริบทของวิชาชีพและวิชาการ ได้แก่การดูแลจัดการผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง(3)
  4 :มีทักษะปฏิบัติตามที่ได้รับการฝึกฝน จากเนื้อหาสำคัญของสาระวิชา(3)
  5 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม(3)
  4 :รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ(4)
  3 :สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ(5)
  5 :สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องได้(5)
[Collapse]PLO: ฝึกภาวะความเป็นผู้นำ ทำงานเป็นทีม มีวินัยความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  2 :มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม(1)
  3 :มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ รักษาสิทธิของตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์(1)
  4 :รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ(4)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
23234345435
ประยุกต์ใช้ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการวิเคราะห์ ประเมิน และแก้ไขปัญหาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ฝึกภาวะความเป็นผู้นำ ทำงานเป็นทีม มีวินัยความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1ความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ทักษะการแปรรูปอาหารอย่างง่าย ทักษะการแปรรูปอาหารและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
2มีทักษะการแปรรูปอาหาร ทักษะการวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ การสุขาภิบาลโรงงานและกฎหมายอาหาร การควบคุมคุณภาพทางกายภาพ ทางด้านจุลินทรีย์ และการคำนวณอย่างง่าย
3การแปรรูปอาหารเกี่ยวกับผักผลไม้ เครื่องดื่ม ขนมอบ ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และประมง หรือผลิตภัณฑ์จากนวัตกรรมใหม่ ๆ รวมถึงการคิดวิเคราะห์ การวางแผนงานวิจัยปัญหาพิเศษ
4การประยุกต์ใช้และการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของงานปัญหาพิเศษ การประยุกต์ใช้สื่อสารสนเทศในการสัมมนา เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1  สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเทียบเท่า  หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คหกรรม ด้านอาหารหรือเทียบเท่า และมีคุณสมบัติอื่นๆ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญา พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

   2    สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาคหกรรม สาขาวิชาหรือสาขางานอาหารและโภชนาการ อุตสาหกรรมอาหาร ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาหรือสาขางานอุตสาหกรรมเกษตร  หรือเทียบเท่า ทั้งนี้โดยใช้การเทียบโอนผลการเรียนตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ว่าด้วยการเทียบโอนผลการศึกษา พ.ศ. 2552 และประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เรื่องแนวปฏิบัติในการดำเนินการการเทียบโอนผลการศึกษาจากการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2555 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ16060606060
2060606060
33030909090
4030309090
A:รวม90180240300300
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ030309090

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   20600.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

1.9.1.1 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสำเร็จการศึกษา ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

          1) เรียนครบหน่วยกิต และรายวิชาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ในหลักสูตร

          2) มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2.00

3) ใช้ระยะเวลาไม่เกิน 2 เท่าของระยะเวลาการศึกษาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

 

1.9.1.2 นักศึกษาที่มีสิทธิ์แสดงความจำนงขอสำเร็จการศึกษา  ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนดังนี้

1) ต้องศึกษารายวิชาได้ครบตามหลักสูตรและข้อกำหนดของสาขาวิชานั้น

2) มีหน่วยกิตสะสมไม่ต่ำกว่าที่หลักสูตรกำหนดไว้และได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00

3) มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเป็นบัณฑิตและไม่มีหนี้สินผูกพันต่อมหาวิทยาลัย

4)การยื่นคำร้องขอสำเร็จการศึกษาให้ยื่นต่อสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนทุกภาคการศึกษาที่นักศึกษาคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาภายในสามสิบวัน นับตั้งแต่วันเปิดภาคการศึกษานั้นจนกว่าจะสำเร็จการศึกษาตามประกาศสภามหาวิทยาลัย

5)นักศึกษาที่ไม่ดำเนินการตาม (4) จะไม่ได้รับการพิจารณาเสนอชื่อเพื่อรับปริญญาในภาคการศึกษานั้น และต้องชำระค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษาจนถึงภาคการศึกษาที่นักศึกษายื่นขอสำเร็จการศึกษา

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
17/06/2019 11:23:523.26 MB