25401941100764_2088_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   29/03/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะศิลปศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2540  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in English for International Communication  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : สถานที่จัดการเรียนการสอนอื่นๆ (โปรดระบุ):คณะศิลปศาสตร์ ศูนย์พณิชยการพระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรุงเทพมหานคร  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามพระราชกฤษฏีกาศิลปศาสตรบัณฑิตBachelor of Artsศศ.บ.B.A.ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร  130   หน่วยกิต

.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                             30    หน่วยกิต

     ก.1  กลุ่มวิชาภาษาไทย                                               3    หน่วยกิต

     ก.2  กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ                                    12     หน่วยกิต

     ก.3  กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์                       6     หน่วยกิต

     ก.4  กลุ่มวิชาพลศึกษาและนันทนาการ                             2     หน่วยกิต

     ก.5  กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์                        3     หน่วยกิต

     ก.6  กลุ่มวิชาบูรณาการ                                               4     หน่วยกิต

ข.  หมวดวิชาเฉพาะ                                                   94    หน่วยกิต

     ข.1  วิชาแกน                                       16    หน่วยกิต                               

     ข.2  วิชาเฉพาะด้าน                                                 54    หน่วยกิต

           - ทักษะภาษา       21    หน่วยกิต

           - ภาษาศาสตร์                                                  12    หน่วยกิต

           - วรรณคดี                                                       12   หน่วยกิต

           - การแปล        9    หน่วยกิต

     ข.3  กลุ่มเลือก                                                       24    หน่วยกิต

ค.  หมวดวิชาเลือกเสรี                                                  6    หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ130

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25401941100764_2088_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
27/09/2019 10:40:30814.08 KB
CouncilApprove2665.pdf
04/10/2019 14:29:583.84 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์เจนตา แก้วลายวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:ม. รามคำแหง More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาวิณี อุ่นวัฒนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ค.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รพีพรรณ สุฐาปัญณกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยศิลปากร More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัชระ โพธิสรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์อรุณี อรุณเรืองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: อ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์เจนตา แก้วลายวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:ม. รามคำแหง More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาวิณี อุ่นวัฒนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ค.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รพีพรรณ สุฐาปัญณกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยศิลปากร More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วัชระ โพธิสรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 อาจารย์อรุณี อรุณเรืองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: อ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

       การจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครและมหาวิทยาลัยอาจเปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน (Summer Session) ซึ่งเป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ ใช้เวลาศึกษา 8 สัปดาห์ รวมทั้งเวลาสำหรับการสอบด้วย โดยให้เพิ่มชั่วโมงการศึกษาในแต่ละรายวิชาให้เท่ากับภาคการศึกษาปกติ


 

 
       
     
   

25401941100764_2088_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1เคารพสิทธิเสรีภาพของบุคคลและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักประชาธิปไตย
 2ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ของสังคม
 3มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะ
 4มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม
 5ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1เข้าใจองค์ความรู้ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปอย่างกว้างขวาง และเป็นระบบ
 2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาศึกษาทั่วไป
 3สามารถนำผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการแก้ปัญหาด้านวิชาการและวิชาชีพ
 4สามารถบูรณาการความรู้ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1คิดอย่างมีระบบบนพื้นฐานของข้อมูลและข้อเท็จจริง
 2สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินข้อมูลแนวคิด และหลักฐานเพื่อการวิเคราะห์ปัญหา
 3สามารถบูรณาการความรู้เพื่อการศึกษาปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
 2สามารถนำเสนอแนวความคิดอย่างสร้างสรรค์
 3แสดงภาวะผู้นำและผู้ตามได้อย่างเหมาะสม
 4มีความรับผิดชอบต่อผลของการกระทำและการนำเสนอ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1เข้าใจหลักเบื้องต้นทางคณิตศาสตร์และสถิติ
 2สามารถประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาปัญหาและการนำเสนอรายงาน
 3สามารถเลือกสื่อ และเครื่องมือในการสืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผลและแปลความหมาย รวมถึงการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
 4สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างถูกต้องและลุล่วงตามเวลาที่กำหนด
 2สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายโดยไม่ละเมิดจรรยาบรรณทางวิชาการ
 3สามารถนำองค์ความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1สามารถฟังและพูดโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษในหัวข้อด้านวิชาการ สังคมและวิชาชีพได้ สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังได้ถูกต้อง สามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลที่อ่านในสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์ และสามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปปากเปล่า และการเขียนอย่างถูกต้องครบถ้วน ทั้งนี้ เทียบเท่าระดับ C1 (Proficient User) ตามมาตรฐานสากล Common European Framework of Reference for Languages: learning, teaching, assessment (CEFR)
 2สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษด้านต่างๆ เช่น การออกเสียงภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องตามหลักสัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษ สามารถวิเคราะห์ความหมายและที่มาของคำตามหลักวิทยาหน่วยคำภาษาอังกฤษ สามารถวิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของวลีและประโยคตามหลักวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ ตลอดจนสามารถวิเคราะห์วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของภาษาอังกฤษ รวมถึงนานาภาษาอังกฤษโลก (World Englishes)
 3สามารถอ่าน ตีความ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณกรรมประเภทร้อยแก้ว ร้อยกรอง และบทละครอังกฤษและอเมริกันและที่ประพันธ์หรือแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยการอิงทฤษฎีวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เพื่อเข้าใจความสำคัญของปัจเจกชน สังคมและวัฒนธรรม อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
 4สามารถแปลข้อความ และตัวบทประเภทต่างๆจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ เช่น ตัวบทประเภทให้ข้อมูล (ข่าวและสารคดี) แสดงความรู้สึก (นวนิยาย) โน้มน้าว (สุนทรพจน์และคำปราศรัย) ตลอดจนการแปลตัวบทที่ใช้คำศัพท์เฉพาะสาขาวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วนและสละสลวย อันเป็นผลมาจากความเข้าใจภาษาและโครงสร้างของทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถใช้ภาษาอังกฤษที่ได้จากการประมวลผลการเรียนรู้ทั้งหมดเพื่อใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 2สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ภาษาอังกฤษในการคิดวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีเหตุผลและสามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ปรับตัวให้เข้ากับความหลากหลายในสถานที่ทำงานและสังคม
 2สามารถประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อนำมาใช้ในการทำงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลภาษาอังกฤษที่ใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์ สามารถนำเสนอรายงานในที่ประชุมโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
 2สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยู่ในปัจจุบันมาใช้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (Digital Literacy)
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11.ทักษะการฟังและการพูด : สามารถสื่อสารโดยฟัง จับประเด็นหลัก และโต้ตอบเกี่ยวกับเรื่องรอบตัวและเรื่องที่ตนสนใจ
12.ทักษะการอ่านและการเขียน : สามารถอ่านจับใจความตัวบทที่มีเนื้อหาไม่ซับซ้อน สามารถเขียนอนุเฉท (paragraph) ที่มีองค์ประกอบครบถ้วนในรูปแบบต่าง ๆ ในหัวข้อที่เกี่ยวกับเรื่องรอบตัวและเรื่องที่ตนสนใจโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง
21.ทักษะการฟังและการพูด : สามารถสื่อสารโดยฟัง จับประเด็นหลัก และโต้ตอบเกี่ยวกับหัวข้อเชิงวิชาการ
22.ทักษะการอ่านและการเขียน : สามารถอ่านจับใจความตัวบทที่มีเนื้อหาซับซ้อน สามารถเขียนเรียงความที่มีองค์ประกอบครบถ้วนในรูปแบบต่าง ๆ ในหัวข้อเชิงวิชาการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง
23.ด้านสัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษเบื้องต้น : สามารถอ่านและออกเสียงสัทอักษร (phonetic symbols) ภาษาอังกฤษได้ ในระดับคำ โดยศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการทางภาษา สามารถลงเสียงหนักในระดับคำ (word stress) และใช้ทำนองเสียงแบบต่าง ๆ (intonations) ในระดับประโยคปกติ(normal intonation)
24.ด้านวิทยาหน่วยคำภาษาอังกฤษ : สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบของคำในภาษาอังกฤษและระบุที่มาและความหมายของคำได้โดยหลักทางด้านวิทยาหน่วยคำ
25.ด้านวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษเบื้องต้น : สามารถวิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของวลีและประโยคที่ไม่ซับซ้อนในภาษาอังกฤษ โดยใช้ทฤษฎีทางด้านวากยสัมพันธ์
26.ด้านวรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน : สามารถอธิบายองค์ประกอบทางวรรณกรรมภาษาอังกฤษ โดยอ่าน ตีความ วิเคราะห์งานประพันธ์ร้อยแก้ว บันเทิงคดีกวีนิพนธ์และบทละคร และสามารถอธิบายความหมายและใช้ศัพท์ ทางด้านวรรณคดีได้อย่างถูกต้อง
27.ด้านการแปล : สามารถแปลประโยคและตัวบทประเภทให้ข้อมูลและข่าวสารจากภาษาอังกฤษ เป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ โดยประยุกต์ใช้หลักการแปลและภาษาที่เหมาะสมกับตัวบทเพื่อให้ได้ใจความถูกต้องและครบถ้วน
31.ทักษะการฟังและการพูด : สามารถสื่อสารโดยฟัง จับประเด็นหลัก และโต้ตอบเกี่ยวกับหัวข้อเชิงโต้แย้ง
32.ทักษะการอ่านและการเขียน : สามารถอ่านจับใจความตัวบทที่มีเนื้อหาซับซ้อน สามารถเขียนเรียงความที่มีองค์ประกอบครบถ้วนในรูปแบบต่าง ๆ ในหัวข้อเชิงโต้แย้งโดยใช้ภาษาที่ถูกต้องสละสลวย
33.ด้านสัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาอังกฤษระดับสูง : สามารถอ่านและออกเสียงสัทอักษรภาษาอังกฤษได้ในระดับประโยค สามารถใช้สัทอักษรในการถ่ายเสียง สามารถลงเสียงหนักในประโยคแบบเน้นและเปรียบเทียบ (emphatic and contrastive stress) ได้ถูกต้อง โดยศึกษาทฤษฎีและฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการทางภาษา
34.ด้านวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษระดับสูง : สามารถวิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของประโยคที่ซับซ้อนมากขึ้นในภาษาอังกฤษโดยใช้ทฤษฎีทางด้านวากยสัมพันธ์
35.ด้านวรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน : สามารถอธิบายแนวโน้ม ลักษณะงานประพันธ์วัฒนธรรมและสังคม ในวรรณคดีอังกฤษและอเมริกันในสมัยต่าง ๆ โดยศึกษาตัวบทที่คัดสรร
36.ด้านการแปล: สามารถแปลตัวบทประเภทแสดงความรู้สึก อาทิ ตัวบทคัดสรรจากนวนิยายจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ โดยประยุกต์ใช้หลักการแปลและภาษาที่เหมาะสมกับตัว
41.ทักษะการฟังและการพูด : สามารถฟัง สรุปใจความสำคัญ สามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์และนำเสนองานในหัวข้อต่าง ๆ อาทิ การพูดในที่สาธารณะ การนำเสนอรายงานในที่ประชุมโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
42.ทักษะการอ่านและการเขียน : สามารถแยกแยะประเภทของข้อมูลในสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์ สามารถเขียนรายงานเชิงวิจัยได้อย่างถูกต้องครบถ้วนตามหลักการเขียนงานวิจัย
43.ด้านวรรณคดีอังกฤษและอเมริกัน : สามารถวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นประเด็นต่าง ๆ ในรายวิชาเลือกทางวรรณคดีโดยอ่านตีความ วิเคราะห์และเขียนวิจารณ์งานประพันธ์ร้อยแก้ว บันเทิงคดีกวีนิพนธ์และบทละคร อาทิ เชกสเปียร์ วรรณกรรมร่วมสมัยที่ประพันธ์เป็นภาษาอังกฤษ วรรณกรรมกับสิ่งแวดล้อม วรรณกรรมเด็ก สามารถค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลทางวรรณคดีที่ผู้เรียนสนใจจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์ที่มีความน่าเชื่อถือทางวิชาการ และสามารถนำเสนองานโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
44.ด้านการแปล : สามารถแปลตัวบทประเภทโน้มน้าว ตัวบทคัดสรรจากสุนทรพจน์ คำปราศรัยและตัวบทในหัวเรื่องเฉพาะสาขาวิชา อาทิ เศรษฐกิจ ธุรกิจ กฎหมาย จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษโดยประยุกต์ใช้หลักการแปลและภาษาที่เหมาะสมกับตัวบทแต่ละประเภท สามารถค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการแปลศัพท์สำนวน วิวัฒนาการของคำศัพท์และการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์ที่มีความน่าเชื่อถือทางวิชาการ และนำมาใช้ในการแปลได้อย่างเหมาะสมกับตัวบท ตลอดจนสามารถเลือกระดับภาษาให้เหมาะสมกับผู้รับสาร

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
  สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า   
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ17070707070
2070707070
300707070
40007070
A:รวม70140210280280
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0007070

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   24000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

         นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนครบทุกรายวิชาในทุกหมวดวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรและมีผลการศึกษาผ่านตามเกณฑ์การประเมินผลการศึกษา ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.00 และผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด


 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
10/10/2019 15:17:311.14 MB