25400051100369_2145_IP:หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   25/06/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2508  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Sociology and Anthropology  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามพระราชกฤษฏีกาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิตBachelor of Artsสม.บ.ฺB.A.สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

1. วิชาศึกษาทั่วไป

30 หน่วยกิต

 

 

2. วิชาเฉพาะ

87 หน่วยกิต

 

 

 

2.1 วิชาเอก

 

69 หน่วยกิต

 

 

 

2.1.1 วิชาบังคับร่วม

 

 

21 หน่วยกิต

 

 

2.1.2 วิชาบังคับเน้นหนัก

 

 

15 หน่วยกิต

 

 

2.1.3 วิชาเลือกในคณะ

 

 

21 หน่วยกิต

 

 

2.1.4 วิชาบังคับนอกคณะ

 

 

12 หน่วยกิต

 

2.2 วิชาโท / วิชาเลือก

 

18 หน่วยกิต

 

3. วิชาเลือกเสรี

12 หน่วยกิต

 

 

รวมจำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร

129 หน่วยกิต

 

 


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ129

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25400051100369_2145_IP:หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
24/12/2018 15:52:492.83 MB
CouncilApprove2655.pdf
24/12/2018 15:53:02360.04 KB
CouncilApprove2676.pdf
15/01/2019 11:54:333.02 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วาทินีย์ วิชัยยาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิลาสินี พนานครทรัพย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สายพิณ ศุพุทธมงคลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อาจินต์ ทองอยู่คงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วาทินีย์ วิชัยยาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิลาสินี พนานครทรัพย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สายพิณ ศุพุทธมงคลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อาจินต์ ทองอยู่คงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์  ในปีการศึกษาที่ 2 และ 3  

 
       
     
   

25400051100369_2145_IP:หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีความซื่อสัตย์สุจริต
 2มีความเป็นธรรม
 3มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 4มีวินัย
 5มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
 6มีจิตอาสา
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้อย่างกว้างขวางในหลักการและทฤษฎีองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
 2สามารถวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
 3สามารถนำความรู้ หลักการ ทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเเหมาะสม
 4สามารถบูรณาการความรู้และศาสตร์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถค้นคว้าข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ
 2สามารถวิเคราะห์ปัญหา ประเมินทางเลือก และเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาและผลการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
 3มีความคิดริเริ่มอย่างสร้างสรรค์ และมีความคิดในเชิงบวก
 4มีความใฝ่รู้ ติดตามการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและยอมรับความแตกต่าง
 2มีความเป็นผู้นำและกล้าทำ กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง
 3มีความรับผิดชอบในงาน ในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 4มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีความสามารถในการปรับตัว การควบคุมอารมณ์และความอดทน
 5ใช้สิทธิเสรีภาพโดยไม่กระทบผู้อื่น และมีความเป็นพลเมืองดี
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีความรู้ทักษะในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
 2มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3มีทักษะในการคิดคำนวณ
 4มีทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์และสถิติ เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 2เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 3พยายามทำความเข้าใจและมีความอดกลั้นในความแตกต่างของความเชื่อ ความคิดและวัฒนธรรมอันหลากหลายทั้งที่อยู่รอบตน สังคมอื่นรอบข้างและสังคม วัฒนธรรมอื่นซึ่งอยู่ห่างออกไป
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาที่สากล เพื่อเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคมวัฒนธรรมทั้งของ สังคมที่ตนเองสังกัดและสังคมวัฒนธรรมอื่น
 2สามารถนำแนวทฤษฎีที่ตนเองสนใจมาพิจารณา อธิบายและวิพากษ์ วิจารณ์ ปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
 3สามารถนำเสนอข้อคิดเห็นหรือทางออกต่อสังคมในวงกว้างได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถคิด วิเคราะห์ปรากฏการณ์ทั้งในระดับปัจเจกและสังคมได้อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์
 2สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงของปัจจัยต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม
 3สามารถเสนอความคิด อธิบายความเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ดังกล่าว และวิพากษ์ได้อย่างชัดเจนและมีเหตุผลและสร้างสรรค์
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1ปรับตัวในปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และในชุมชนได้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีความเคารพ ยอมรับ และอดกลั้นต่อความแตกต่าง ระหว่างบุคคล สังคม และวัฒนธรรม
 2พร้อมที่จะคิดริเริ่มในการคิด วิเคราะห์ วิพากษ์ปัญหาอย่างอิสระและมีความรับผิดชอบต่อการแสดงออกดังกล่าว
 3มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อสังคม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถอธิบายเชื่อมโยงปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างมีหลักการและมีเหตุผล
 2สามารถตั้งคำถามที่ท้าทาย วิพากษ์วิจารณ์สังคมวัฒนธรรมทั้งของตนเองและผู้อื่นได้อย่างชัดเจนและสร้างสรรค์
 3สามารถพัฒนาตนเองให้สามารถทำงานวิจัยเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมได้
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1เรียนรู้วิชาพื้นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองทั้งในและนอกห้องเรียน และสร้างทักษะ GREATS
2เรียนรู้วิชาเบื้องต้นของหลักสูตร เพื่อสร้างองค์ความรู้พื้นฐานทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและทักษะในการทำความเข้าใจ วิพากษ์ วิจารณ์ปรากฏการณ์ทางสังคม
3เรียนรู้วิชาเน้นหนัก เพื่อสร้างความสนใจและความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
4มีทักษะในการบูรณาการ สามาถเชื่อมโยงองค์ความรู้เข้ากับวิธีการศึกษาหาความรู้ เพื่อทำความเข้าใจและอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาต้องเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561 ข้อ 14 ดังนี้

(1) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

(2) ไม่เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่น เว้นแต่การศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิด หรือการศึกษาหลักสูตรทางไกล (Online) ที่ได้รับปริญญา 

(3) ไม่เป็นผู้ป่วยหรืออยู่ในสภาวะที่จะเป็นอุปสรรคร้ายแรงต่อการศึกษา

(4) ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดศีลธรรมอันดีหรือมีพฤติกรรมเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง     
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ1100100100100100
2090909090
300858585
40008585
A:รวม100190275360360
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0008080

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   118762.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

1)  ได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามโครงสร้างหลักสูตร และมีหน่วยกิตสะสมไม่ต่ำกว่า 129 หน่วยกิต

2)  ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่กว่า 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)

3)  สอบผ่านในรายวิชา ม.201 และ สว.201 โดยได้ค่าระดับไม่ต่ำกว่า C

4)  ใช้เวลาในการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 7 ปีการศึกษา และใช้เวลาศึกษาอย่างน้อย 7 ภาคการศึกษาปกติ

5)  ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอื่น ๆ ที่คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กำหนด

เกณฑ์การสำเร็จศึกษาเพื่อรับอนุปริญญาในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

นักศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ผู้ใดได้ศึกษารายวิชาต่างๆ  ตามหลักสูตรในสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 102 หน่วยกิต ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ มีสิทธิได้รับอนุปริญญา

1) ได้รับค่าเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า  2.00

2) ได้ขึ้นทะเบียนนักศึกษาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ภาคการศึกษาปกติ

3) ได้ศึกษาวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยครบตามหลักสูตร  รวม  30  หน่วยกิต

4) ได้ศึกษารายวิชาในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้

     4.1   ศึกษาและสอบผ่านวิชา สว.201 และวิชา ม. 201 ได้ค่าระดับไม่ต่ำกว่า C    

     4.2   ศึกษาและสอบผ่านวิชาในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไม่น้อยกว่า 54  หน่วยกิต

5) ได้ศึกษาวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า  12  หน่วยกิต

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
12/03/2019 17:47:285.87 MB