25400051100257_2103_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   25/06/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะศิลปศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2515  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in French  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศิลปศาสตรบัณฑิตBachelor of Artsศศ.บ.B.A.ภาษาฝรั่งเศส
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

 นักศึกษาจะต้องจดทะเบียนศึกษารายวิชา รวมไม่น้อยกว่า  138  หน่วยกิต โดยศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามโครงสร้าง องค์ประกอบ และข้อกำหนดของหลักสูตรดังนี้

              1) วิชาศึกษาทั่วไป                                      30     หน่วยกิต

              2) วิชาเฉพาะ                                            102     หน่วยกิต

                   2.1 วิชาเอก                                  (84 หน่วยกิต)

         2.1.1 วิชาบังคับในสาขา     (54)

                          2.1.2 วิชาเลือกในสาขา       (18) 

                          2.1.3 วิชาบังคับนอกสาขา    (12)

                   2.2  วิชาโทหรือวิชาเลือก                 (18 หน่วยกิต)

              3)  วิชาเลือกเสรี                                           6      หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ138

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาฝรั่งเศส)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25400051100257_2103_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
11/12/2018 16:27:382.83 MB
CouncilApprove2670.pdf
11/12/2018 16:27:55360.04 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์Bruno Marchalวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เฉลิมเกียรติ สุขเอียดวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: Master 2 Recherche สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Universit? Paris V More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนยา ด่านสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: Maitris สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Universite Grenoble lll, France More Info...
 อาจารย์มาริสา การีเวทย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Doctorat สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:universite Paris lll, France More Info...
 รองศาสตราจารย์สิรจิตต์ เดชอมรชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Univsersite Laval More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์Bruno Marchalวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เฉลิมเกียรติ สุขเอียดวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: Master 2 Recherche สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Universit? Paris V More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนยา ด่านสวัสดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: Maitris สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Universite Grenoble lll, France More Info...
 อาจารย์มาริสา การีเวทย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Doctorat สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:universite Paris lll, France More Info...
 รองศาสตราจารย์สิรจิตต์ เดชอมรชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Univsersite Laval More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ไม่มีพื้นความรู้ภาษาฝรั่งเศสมาก่อน และอาจมีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนสำหรับนักศึกษาชั้นปีอื่น ๆ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการประจำหลักสูตร

 
       
     
   

25400051100257_2103_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีความซื่อสัตย์สุจริต
 2มีความเป็นธรรม
 3มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 4มีวินัย
 5มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
 6มีจิตอาสา
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้อย่างกว้างขวางในหลักการและทฤษฎีองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
 2สามารถวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
 3สามารถนำความรู้ หลักการ ทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเเหมาะสม
 4สามารถบูรณาการความรู้และศาสตร์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1สามารถค้นคว้าข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ
 2สามารถวิเคราะห์ปัญหา ประเมินทางเลือก และเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาและผลการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม
 3มีความคิดริเริ่มอย่างสร้างสรรค์ และมีความคิดในเชิงบวก
 4มีความใฝ่รู้ ติดตามการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและยอมรับความแตกต่าง
 2มีความเป็นผู้นำและกล้าทำ กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง
 3มีความรับผิดชอบในงาน ในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 4มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีความสามารถในการปรับตัว การควบคุมอารมณ์และความอดทน
 5ใช้สิทธิเสรีภาพโดยไม่กระทบผู้อื่น และมีความเป็นพลเมืองดี
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีความรู้ทักษะในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
 2มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3มีทักษะในการคิดคำนวณ
 4มีทักษะในการคิดวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์และสถิติ เก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูล
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีวินัย สำนึกรับผิดชอบอย่างยั่งยืนต่อตนเอง ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่นและเข้าใจโลก ตระหนักถึงการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรม
 2ใช้ดุลยพินิจในการจัดการปัญหาทั้งทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพ โดยคำนึงถึงจรรยาบรรณ ค่านิยมในสังคม และความรู้สึกของผู้อื่น
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ซาบซึ้งในความงาม คุณค่า และความสำคัญของภาษา ศิลปะ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวรรณกรรมฝรั่งเศส
 2มีความรู้ด้านกระบวนการวิจัย
 3มีความรู้ในธรรมเนียมปฏิบัติในสายวิชาชีพ และระบบการทำงานที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ของโลก
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1ค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ตีความ และสามารถประเมินข้อมูลแนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
 2สามารถใช้วิจารณญาณในการประเมินข้อมูล แนวคิด เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองอย่างสร้างสรรค์
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในภาวะผู้นำและผู้ร่วมทีมเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์และมีความเป็นประชาธิปไตย ยอมรับในความคิดเห็นที่แตกต่าง
 2รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1มีทักษะในการเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา
 2สามารถสื่อสารอย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้ศิลปะในการนำเสนออย่างเหมาะสม รวมทั้งสื่อสารต่างวัฒนธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 3สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีประกอบการสื่อสาร ศึกษา ค้นคว้า และนำเสนองานได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1ทักษะการฟัง-การพูด และทักษะการอ่าน-การเขียน สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน ในบริบทและสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนและสอบถามข้อมูลโดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น อีกทั้งสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความคิดเห็น และบรรยายอารมณ์ความรู้สึก ในบริบทและสถานที่ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันโดยเน้นระดับการสื่อสารโต้ตอบอย่างคล่องแคล่ว
2ทักษะการฟัง-การพูด สามารถจับใจความสำคัญ พูดถ่ายทอดความคิดของตน ความรู้สึกและทัศนคติ แสดงความคิดเห็นเชิงวิพากษ์ และจัดระบบความคิดเพื่อโต้แย้งอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการอ่าน-การเขียน สามารถอ่านข้อเขียนเชิงบรรยาย เรื่องเล่า ข้อเขียนเชิงอภิปราย เชิงโน้มน้าว และแสดงความคิดเห็นเชิงวิพากย์ เขียนข้อเขียนหลากหลายประเภท ด้านสัทศาสตร์และสัทวิทยาภาษาฝรั่งเศส สามารถฟังและแยกแยะเสียงภาษาฝรั่งเศสให้ถูกต้อง อ่านออกเสียง ลงเสียงหนักเสียงเบา จังหวะเสียง ทำนองเสียง และสามารถถ่ายถอดเสียงด้วยสัทอักษรตามระบบสากล รวมถึงวิเคราะห์หน่วยเสียงตามทฤษฎีสัทวิทยา ด้านประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส สามรถเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ก่อตั้งประเทศจนถึงการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ในเชิงด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปะ และวัฒนธรรม ด้านวรรณกรรมภาษาฝรั่งเศส สามารถอ่านตัวบทเพื่อวิเคราะห์แนวความคิดหลักและศึกษาเทคนิคการประพันธ์ในระดับพื้นฐาน วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรม ตั้งแต่ สมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 อย่างมีวิจารณญาณโดยเรียบเรียงเป็นภาษาฝรั่งเศสที่ถูกต้องและชัดเจน
3ทักษะด้านการฟัง-การพูด สามารถฟังและพูดในบริบทและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโลกการทำงาน สิ่งแวดล้อมและเหตุการณ์ปัจจุบัน โดยใช้ภาษาในระดับทางการ สามารถอภิปรายและวิพากษ์ในระดับสูง เรียบเรียงประเด็นในการวิพากษ์อย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังสามารถพูดในที่สาธารณะ วิเคราะห์วัจนะและอวัจนภาษา ทำเค้าโครงความคิด ใช้สื่อประกอบความคิด พูดนำเสนอในที่สาธารณะ ทักษะด้านการอ่าน-การเขียน สามารถจัดระบบความคิดเชิงวิพากษ์ ใช้กลวิธีการเขียน องค์ประกอบของข้อเขียนเชิงวิพากษ์ เขียนนำเรื่อง เขียนเนื้อเรื่อง และเขียนสรุป ในบริบทและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโลกการทำงาน สิ่งแวดล้อม เพื่ออภิปรายและการวิพากษ์ในระดับสูง ด้านภาษาศาสตร์ สามารถวิเคราะห์ภาษาฝรั่งเศสในแนวภาษาศาสตร์ ได้แก่ สัทศาสตร์ สัทวิทยา วจีวิภาค วากยสัมพันธ์ และอรรถศาสตร์ ด้านวรรณกรรม สามารถอ่านตัวบทเพื่อเข้าใจลักษณะเฉพาะ คุณค่าและความงามของวรรณกรรมฝรั่งเศสที่ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 18-20 สามารถวิเคราะห์แนวความคิดหลัก เทคนิคการประพันธ์ และวิจารณ์แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรมฝรั่งเศส เป็นภาษาฝรั่งเศสที่ถูกต้องและชัดเจน ด้านวิชาชีพ สามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในองค์กรทั้งการพูดและการเขียน ธรรมเนียมปฏิบัติในการทำงานร่วมกับชาวฝรั่งเศสและประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศส ด้านสังคม และวัฒนธรรม สามารถเข้าใจระบอบการเมือง เศรษฐกิจ สังคมในมิติที่หลากหลายเข้าการเปลี่ยนแปลงประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบัน บทบาทของประเทศฝรั่งเศสในประชาคมโลก อีกทั้งเข้าใจเรื่องภูมิศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสในด้านกายภาพ ประชากร เศรษฐกิจ และการเมือง บทบาทของฝรั่งเศสในสหภาพยุโรป การเปลี่ยนแปลงของสังคมฝรั่งเศสด้านภูมิศาสตร์ ในด้านศิลปะ นักศึกษามีพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับศิลปะที่สำคัญของฝรั่งเศส สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม อีกทั้งรูปแบบ ลักษณะเฉพาะ และบทบาทของศิลปิน
4ด้านวรรณกรรม สามารถอ่านตัวบทเพื่อเข้าใจลักษณะเฉพาะ คุณค่าและความงามของวรรณกรรมฝรั่งเศสที่ปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 18-20 สามารถวิเคราะห์แนวความคิดหลัก เทคนิคการประพันธ์ และวิจารณ์แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณกรรมฝรั่งเศส เป็นภาษาฝรั่งเศสที่ถูกต้องและชัดเจน ด้านการแปล สามารถเข้าใจหลักการพื้นฐานด้านการแปลและล่าม การถ่ายทอดความหมายจากต้นฉบับมาเป็นบทแปลภาษาไทยที่สละสลวยและสื่อความหมายตรงกัน โดยเน้นแปลเอกสารตีพิมพ์ปัจจุบัน และคำนึงถึงจริยธรรมในการแปล เพื่อสามารถแปลและปฏิบัติล่ามกับหน่วยงาน บุคคล หรือโครงการที่เกี่ยวข้อง ด้านภาษาศาสตร์ เข้าใจหลักการและแนวคิดทางภาษาศาสตร์ที่ใช้วิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาฝรั่งเศส สามารถหาแนวทางการแก้ไขปัญหา รวมถึงการพัฒนาการใช้ภาษาฝรั่งเศสของผู้เรียนชาวไทย อีกทั้งสามารถวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างประโยคแบบต่าง ๆ ตามทฤษฎีภาษาศาสตร์ ด้านการวิจัย สามารถเข้าใจกระบวนการวิจัย การสรุปความ การย่อความ เทคนิคการจดบันทึก การสังเคราะห์ การทำบันทึกการตรวจสอบเอกสารงานวิจัย การทำบรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง ใช้เทคนิคการเขียนรายงานวิชาการ เพื่อนำไปสู่การค้นคว้าข้อมูลด้วยกระบวนการทางระเบียบวิธีวิจัยในหัวข้อเรื่องที่สนใจ นำเสนองานวิชาการ และอภิปรายผลการค้นคว้าเป็นภาษาฝรั่งเศสที่ถูกต้องและชัดเจน ด้านการแปล สามารถเข้าใจหลักการพื้นฐานด้านการแปลและล่าม การถ่ายทอดความหมายจากต้นฉบับมาเป็นบทแปลภาษาไทยที่สละสลวยและสื่อความหมายตรงกัน โดยเน้นแปลเอกสารตีพิมพ์ปัจจุบัน และคำนึงถึงจริยธรรมในการแปล เพื่อสามารถแปลและปฏิบัติล่ามกับหน่วยงาน บุคคล หรือโครงการที่เกี่ยวข้อง ด้านสังคม และวัฒนธรรม สามารถวิเคราะห์เนื้อหา การใช้ภาษา และวิธีการนำเสนอ การรู้เท่าทันข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน อีกทั้งสามารถเข้าใจถึงหลักการชมและวิจารณ์ภาพยนตร์ฝรั่งเศสในแง่ศิลปะ มุมมองและแนวคิดเกี่ยวกับชีวิต สภาพสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ด้านวิชาชีพ สามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสในการประกอบวิชาชีพต่างๆ เช่น ในด้านธุรกิจและการติดต่อสื่อสารด้านธุรกิจ รู้จักคำศัพท์เฉพาะด้าน มีความรู้ทนงด้านโครงสร้างองค์กร การเป็นผู้ประกอบการและขั้นตอนการดำเนินธุรกิจโดยสังเขป อีกทั้งสามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสในการอาชีพมัคคุเทศก์ ด้านการแพทย์และการพยาบาล เพื่อวินิจฉัยโรค เสนอวิธีการรักษา ให้คำแนะนำเพื่อการป้องกันและการรักษาสุขภาพ รวมถึงเทคนิคและความรู้ด้านการทำอาชีพล่ามภาษาต่างประเทศในสถานบริการทางการแพทย์

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาต้องเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2561  ข้อ 14 คือ
ข้อ 14 นักศึกษามหาวิทยาลัยต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้ 
(1) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
(2) ไม่เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่น เว้นแต่การศึกษาในมหาวิทยาลัยเปิด หรือการศึกษาหลักสูตรทางไกล (Online) ที่ได้รับปริญญา
(3) ไม่เป็นผู้ป่วยหรืออยู่ในสภาวะที่จะเป็นอุปสรรคร้ายแรงต่อการศึกษา
(4) ไม่เป็นผู้ประพฤติผิดศีลธรรมอันดีหรือมีพฤติกรรมเสื่อมเสียอย่างร้ายแรง
นอกจากคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง ผู้ซึ่งจะเข้าศึกษาในหลักสูตรการศึกษาใด ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตามข้อกำหนดหลักสูตรที่เข้าศึกษาและตามประกาศมหาวิทยาลัยว่าด้วยการรับเข้าศึกษาด้วย
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ14040404040
2040404040
300404040
40004040
A:รวม4080120160160
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0004040

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   35000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 
เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
1. ได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามโครงสร้างหลักสูตรและมีหน่วยกิตสะสมไม่ต่ำกว่า  138  หน่วยกิต 
2.  ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)
3.  ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาบังคับในสาขาไม่ต่ำกว่า 2.00
4.  ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขอื่น ๆ ที่คณะศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กำหนด 

การศึกษาเพื่อรับอนุปริญญาในสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
นักศึกษาผู้ใดได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรในสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศสได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า  93  หน่วยกิต ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ มีสิทธิได้รับอนุปริญญา
1.  ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า  2.00
2.  ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ภาคการศึกษาปกติ
3.  ได้ศึกษาวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยครบตามหลักสูตร รวม  30 หน่วยกิต
4.  ได้ศึกษารายวิชาเฉพาะของสาขาภาษาฝรั่งเศสไม่น้อยกว่า  60 หน่วยกิต ตามเงื่อนไขต่อไปนี้
4.1 วิชาบังคับในสาขาไม่น้อยกว่า  36  หน่วยกิต และต้องสอบได้คะแนนเฉลี่ยวิชาบังคับในสาขาไม่ต่ำกว่า 2.00
4.2 วิชาอื่น ๆ ในสาขาไม่น้อยกว่า  18  หน่วยกิต
4.3 วิชาบังคับนอกสาขา 6 หน่วยกิต ได้แก่  อ.211 และ อ.221
5. ได้ศึกษาวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า  3  หน่วยกิต
 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
17/04/2019 14:14:016.08 MB