25400041100807_2101_IP:หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา (5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศึกษาศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   26/05/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะศึกษาศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2519  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา (5 ปี)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Elementary Education  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 5 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาชีพ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศึกษาศาสตรบัณฑิตBachelor of Educationศษ.บ.B.Ed.ประถมศึกษา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

 

3.1.1 จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร

ไม่น้อยกว่า

165

หน่วยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร     

 

 

 

 (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

ไม่น้อยกว่า

30

หน่วยกิต

     1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

 

12

หน่วยกิต

     1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

 ไม่น้อยกว่า

6

หน่วยกิต

     1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

 ไม่น้อยกว่า

9

หน่วยกิต

     1.4 กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม

 ไม่น้อยกว่า

3

หน่วยกิต

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

ไม่น้อยกว่า

129

หน่วยกิต

     2.1 วิชาแกน (วิชาชีพครู)

ไม่น้อยกว่า

51

หน่วยกิต

         2.1.1 วิชาแกนบังคับ

 

49

หน่วยกิต

         2.1.2 วิชาแกนเลือก

ไม่น้อยกว่า

2

หน่วยกิต

     2.2 วิชาเอก

ไม่น้อยกว่า

78

หน่วยกิต

         2.2.1 วิชาทางด้านเนื้อหา

 

68

หน่วยกิต

         2.2.2 วิชาการสอนวิชาเอก

ไม่น้อยกว่า

10

หน่วยกิต

 

1) วิชาบังคับ

ไม่น้อยกว่า

6

หน่วยกิต

 

2) วิชาเลือก

ไม่น้อยกว่า

4

หน่วยกิต

     2.3 วิชาโท (ถ้ามี)

ไม่น้อยกว่า

15

หน่วยกิต

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า

6

หน่วยกิต

 

 


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 5 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาชีพ165

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25400041100807_2101_IP:หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา (5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศึกษาศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
05/10/2018 14:30:273.83 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ปริวิทย์ ไวทยาชีวะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิชญา ผิวคำวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช More Info...
 รองศาสตราจารย์วีณา วโรตมะวิชญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อมรา สุขบุญสังข์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุไรวรรณ หาญวงค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ปริวิทย์ ไวทยาชีวะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิชญา ผิวคำวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช More Info...
 รองศาสตราจารย์วีณา วโรตมะวิชญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อมรา สุขบุญสังข์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุไรวรรณ หาญวงค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25400041100807_2101_IP:หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา (5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศึกษาศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.5คุณลักษณะทั้งหมดเกิดขึ้นจากความเข้าใจ "สังคมและวัฒนธรรมไทย"
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2สามารถวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
 2.3สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษา เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 2.4สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.5ความรู้ทั้งหมดเกิดขึ้นได้จากการทำให้นักศึกษามีมุมมองที่แตกต่างและหลากหลาย
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
 3.2สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาสร้างสรรค์
 3.3สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
 3.4ทักษะทางปัญญาเกิดขึ้นได้จากการมองเห็นกระบวนการเชื่อมโยง “ความรู้”
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1การมีมนุษยสัมพันธ์ดี ช่วยเหลือ เสียสละ และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับสภาวการณ์
 4.2การสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ทั้งในภาวะผู้นำ และผู้ตาม
 4.3การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 4.4ความสามารถทำงานได้ตามกำหนดเวลา
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้เทคนิคคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
 5.2สามารถแปลความหมายข้อมูล สามารถแปลงข้อมูลเป็นข่าวสารและบทสรุป
 5.3สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ทั้งปากเปล่า และ การเขียน และเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 1.2มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
 1.3มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
 1.4เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2สามารถวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
 2.3สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษา เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 2.4สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
 3.2สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาสร้างสรรค์
 3.3สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.2สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และเป็นผู้ริเริ่มแสดง ประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
 4.3มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้สารสนเทศ และเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
 5.2สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือนำสถิติมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
 5.3สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะการจัดการเรียนรู้
 6.1มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ที่มีรูปแบบหลากหลาย ทั้งรูปแบบที่เป็น ทางการ (Formal) รูปแบบกึ่งทางการ (Non-formal) และรูปแบบไม่เป็นทางการ (Informal) อย่างสร้างสรรค์
 6.2มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนที่หลากหลาย ทั้งผู้เรียนที่มี ความสามารถพิเศษ ผู้เรียนที่มีความสามารถปานกลาง และผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษอย่างมีนวัตกรรม
 6.3มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ในวิชาเอกที่จะสอนอย่างบูรณาการ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1จบชั้นปีที่ 1 เป็นผู้รักษ์ตน : นักศึกษาสามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจ ดำรงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่น มีจิตอาสา เข้าใจแนวคิดการจัดการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา การจัดการความรู้แบบองค์รวม และสร้างมโนทัศน์พื้นฐานทางศาสตร์วิชาชีพ ผ่านกระบวนการวิจัยและกระบวนการสืบเสาะ
2จบชั้นปีที่ 2 เป็นผู้รักษ์ท้องถิ่น : นักศึกษาสามารถดูแลท้องถิ่น มีจิตสาธารณะ วิเคราะห์และเชื่อมโยงบูรณาการอิงอัตลักษณ์บริบทชุมชน วัฒนธรรมท้องถิ่นกับศาสตร์และศิลป์ในการสอนระดับประถมศึกษา ออกแบบสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนประถมศึกษาผ่านกระบวนการวิจัย
3จบชั้นปีที่ 3 เป็นผู้รักษ์สิ่งแวดล้อม : นักศึกษาสามารถดูแลสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ วิเคราะห์และเชื่อมโยงบูรณาการสิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยีกับศาสตร์การสอนแนวใหม่ สู่การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก และนำเสนอผลงานเชิงสร้างสรรค์ผ่านการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากล
4จบชั้นปีที่ 4 เป็นผู้รักษ์โลก : นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงบูรณาการภาษา วัฒนธรรมอันเป็นสากล และเทคโนโลยีกับศาสตร์การสอนแนวใหม่ สามารถทดลองสอนในสถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง รวมทั้งคัดสรรวิธีการประเมินการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของนักเรียนประถมศึกษา โดยบูรณาการองค์ความรู้ทั้งมวล ทักษะการสอน เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและประสบการณ์ตรงออกแบบสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนประถมศึกษาผ่านกระบวนการวิจัย
5จบชั้นปีที่ 5 เป็นผู้รักษ์วิชาชีพ : นักศึกษามีคุณลักษณะความเป็นครูที่สมบูรณ์พร้อมดูแลสังคม สามารถบูรณาการศาสตร์และศิลป์ในการสอนระดับประถมศึกษาโดยแสดงให้เห็นถึงความเป็นครูอย่างมืออาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น ส้งคม และสิ่งแวดล้อม พัฒนาตนเองให้เกิดความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ สร้างสรรค์นวัตกรรมผ่านกระบวนการวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 
สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2553 ข้อ 5
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาตรี 5 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาชีพ16030303030
2060303030
300603030
40006030
5000060
A:รวม6090120150180
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ000060

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   71100.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 
     1. เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2553 โดยต้องเรียนตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้รับคะแนนเฉลี่ย
ไม่ต่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า จึงถือว่าเรียนจบหลักสูตรปริญญาตรี
     2. การเข้าร่วมกิจกรรมตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
     3. ผ่านการประเมินมาตรฐานบัณฑิตตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
20/06/2019 16:29:268.51 MB