25390731100228_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   26/04/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2560
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2539  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Environmental Health  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรบัณฑิตBachelor of Scienceวท.บ.B.S.อนามัยสิ่งแวดล้อม
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร                            144      หน่วยกิต

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                                30      หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ                                                      108      หน่วยกิต

2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 32     หน่วยกิต

2.2) กลุ่มวิชาชีพสาธารณสุข                                         30     หน่วยกิต

2.3 กลุ่มวิชาชีพอนามัยสิ่งแวดล้อม                                46    หน่วยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี                                                       6      หน่วยกิต



รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ144

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25390731100228_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
24/08/2018 10:02:47783.66 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ชฎาภรณ์ ประสาทกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วท.ม. (สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์ธีรวิทย์ ปูผ้าวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชนาถ แช่มช้อยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด.(เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ More Info...
 อาจารย์อาภาภรณ์ บุลสถาพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วท.ม. (การวางแผนสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาชุมชนและชนบท) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิสรี รอดทัศนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ม. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ชฎาภรณ์ ประสาทกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วท.ม. (สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์ธีรวิทย์ ปูผ้าวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชนาถ แช่มช้อยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ More Info...
 อาจารย์อาภาภรณ์ บุลสถาพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วท.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อิสรี รอดทัศนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25390731100228_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ:
  หลักสูตรจัดทำมาตรฐานผลการเรียนรู้และ Curriculum Mapping หมวดวิชาศึกษาทั่วไปและหมวดวิชาเฉพาะ รวมเป็น 1 ตาราง
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีคุณธรรม 6 ประการ ได้แก่ ขยัน อดทน ประหยัด เมตตา ซื่อสัตย์ กตัญญู และดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 2แสดงออกถึงความมีวินัย กล้าหาญ ความรับผิดชอบ เสียสละ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม
 3เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
 4เห็นคุณค่าตนเอง เข้าใจ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 5มีความตระหนักในคุณค่าของภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมไทย-จีน
 6แสดงออกถึงจิตสํานึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1อธิบายความรู้หลักการและทฤษฎีในรายวิชาที่เรียน
 2สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์หรืองานที่รับผิดชอบ
 3สามารถวางแผนงานโครงการ ประเมินผลโครงการ/นำกลยุทธ์และกลวิธีทางอนามัยสิ่งแวดล้อมไปใช้ในการแก้ปัญหา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1ใฝ่เรียนใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
 2สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
 3มีทักษะในการคิดเชิงเหตุผลและการคิดแบบองค์รวม
 4สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ตีความและประเมินค่า เพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และนำไปใช้อย่างมีวิจารณญาณ
 5ประเมิน วิเคราะห์สถานะสุขภาพ ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ได้อย่างเป็นองค์รวม
 6วางแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้สอดคล้องกับบริบท โดยประยุกต์ใช้กับงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
 7เลือกวิธีการบําบัดโรคเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 8ให้บริการวิชาการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและหน่วยงานอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม
 9ริเริ่มและสร้างสรรค์ คิดค้นสร้างนวัตกรรมหรือผลงานวิชาการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1ตระหนักในสิทธิและหน้าที่ความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
 2สามารถช่วยเหลือและแก้ปัญหากลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ ทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
 3สามารถปรับตัวทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและสมาชิกกลุ่ม
 4มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ในการวิเคราะห์แก้ไขปัญหาบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม
 5มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีสำนึกสาธารณะและมีจิตอาสา
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การใช้งาน
 2มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมายและนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้องและรู้เท่าทัน
 3สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการนําเสนอได้ถูกต้องเหมาะสม
 4สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
 5สามารถใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ
 1สามารถให้คําแนะนํา ให้คําปรึกษาเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การบําบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ
 2สามารถตรวจประเมินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การบําบัดโรคเบื้องต้น การดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อการส่งต่อ
 3สามารถประเมินสถานการณ์ การวินิจฉัย การวางแผนงานโครงการสุขภาพ การปฏิบัติ ตามแผน การติดตามและการประเมินผล
 4สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการควบคุม ป้องกันปัจจัยที่ทําให้เกิดโรค และลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตามมาตรฐานวิชาชีพ
 5สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นองค์รวม
 6สามารถใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพอนามัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1.ปฏิบัติงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ คุณธรรม และจริยธรรม และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการสร้างระบบสิ่งแวดล้อมที่เอื้อหนุนสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  1 :มีคุณธรรม 6 ประการ ได้แก่ ขยัน อดทน ประหยัด เมตตา ซื่อสัตย์ กตัญญู และดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (1)
  2 :แสดงออกถึงความมีวินัย กล้าหาญ ความรับผิดชอบ เสียสละ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคม (1)
  3 :เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (1)
  4 :เห็นคุณค่าตนเอง เข้าใจ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น(1)
  5 :มีความตระหนักในคุณค่าของภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมไทย-จีน(1)
  6 :แสดงออกถึงจิตสํานึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ (1)
[Collapse]PLO: 2.สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการรักษาและป้องกันการเสื่อมของคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
  1 :อธิบายความรู้หลักการและทฤษฎีในรายวิชาที่เรียน(2)
  2 :สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์หรืองานที่รับผิดชอบ(2)
  3 :สามารถวางแผนงานโครงการ ประเมินผลโครงการ/นำกลยุทธ์และกลวิธีทางอนามัยสิ่งแวดล้อมไปใช้ในการแก้ปัญหา(2)
  1 :สามารถให้คําแนะนํา ให้คําปรึกษาเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การบําบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ (221)
  2 :สามารถตรวจประเมินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การบําบัดโรคเบื้องต้น การดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อการส่งต่อ (221)
  3 :สามารถประเมินสถานการณ์ การวินิจฉัย การวางแผนงานโครงการสุขภาพ การปฏิบัติ ตามแผน การติดตามและการประเมินผล(221)
  4 :สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการควบคุม ป้องกันปัจจัยที่ทําให้เกิดโรค และลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตามมาตรฐานวิชาชีพ(221)
  5 :สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นองค์รวม(221)
  6 :สามารถใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพอนามัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้(221)
[Collapse]PLO: 3.มีความรู้ในการสำรวจ วินิจฉัย และวางแผนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข และสามารถวิเคราะห์ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุขที่เกิดขึ้น เพื่อบ่งชี้และประเมินผลกระทบรวมทั้งความเสี่ยงในด้านต่างๆ ได้
  1 :อธิบายความรู้หลักการและทฤษฎีในรายวิชาที่เรียน(2)
  2 :สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์หรืองานที่รับผิดชอบ(2)
  3 :สามารถวางแผนงานโครงการ ประเมินผลโครงการ/นำกลยุทธ์และกลวิธีทางอนามัยสิ่งแวดล้อมไปใช้ในการแก้ปัญหา(2)
  2 :สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง(3)
  3 :มีทักษะในการคิดเชิงเหตุผลและการคิดแบบองค์รวม(3)
  4 :สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ตีความและประเมินค่า เพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และนำไปใช้อย่างมีวิจารณญาณ(3)
  5 :ประเมิน วิเคราะห์สถานะสุขภาพ ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ได้อย่างเป็นองค์รวม(3)
  6 :วางแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้สอดคล้องกับบริบท โดยประยุกต์ใช้กับงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม(3)
  7 :เลือกวิธีการบําบัดโรคเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ(3)
  8 :ให้บริการวิชาการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนและหน่วยงานอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม(3)
  9 :ริเริ่มและสร้างสรรค์ คิดค้นสร้างนวัตกรรมหรือผลงานวิชาการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ(3)
[Collapse]PLO: 4.มีทักษะการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างด้านสิ่งแวดล้อม ควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อม และสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  1 :สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การใช้งาน(5)
  2 :มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมายและนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้องและรู้เท่าทัน(5)
  5 :สามารถใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ(5)
  4 :สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการควบคุม ป้องกันปัจจัยที่ทําให้เกิดโรค และลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตามมาตรฐานวิชาชีพ(221)
  5 :สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นองค์รวม(221)
[Collapse]PLO: 5.สามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  1 :ใฝ่เรียนใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง(3)
  2 :สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง(3)
  1 :ตระหนักในสิทธิและหน้าที่ความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก (4)
  2 :สามารถช่วยเหลือและแก้ปัญหากลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ ทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม(4)
  3 :สามารถปรับตัวทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและสมาชิกกลุ่ม (4)
  4 :มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ในการวิเคราะห์แก้ไขปัญหาบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม(4)
  5 :มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีสำนึกสาธารณะและมีจิตอาสา(4)
[Collapse]PLO: 6.สามารถเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม
  1 :ใฝ่เรียนใฝ่รู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง(3)
  2 :สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง(3)
  1 :สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การใช้งาน(5)
  2 :มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล ประมวลผล แปลความหมายและนำเสนอข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้องและรู้เท่าทัน(5)
  3 :สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการนําเสนอได้ถูกต้องเหมาะสม (5)
  4 :สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์(5)
  5 :สามารถใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ(5)
  1 :สามารถให้คําแนะนํา ให้คําปรึกษาเกี่ยวกับการอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การบําบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ (221)
  2 :สามารถตรวจประเมินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การบําบัดโรคเบื้องต้น การดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อการส่งต่อ (221)
  3 :สามารถประเมินสถานการณ์ การวินิจฉัย การวางแผนงานโครงการสุขภาพ การปฏิบัติ ตามแผน การติดตามและการประเมินผล(221)
  4 :สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการควบคุม ป้องกันปัจจัยที่ทําให้เกิดโรค และลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตามมาตรฐานวิชาชีพ(221)
  5 :สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นองค์รวม(221)
  6 :สามารถใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพอนามัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้(221)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5[Collapse]6
1234561231234567891234512345123456
1.ปฏิบัติงานตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ คุณธรรม และจริยธรรม และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการสร้างระบบสิ่งแวดล้อมที่เอื้อหนุนสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการรักษาและป้องกันการเสื่อมของคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
3.มีความรู้ในการสำรวจ วินิจฉัย และวางแผนงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุข และสามารถวิเคราะห์ปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุขที่เกิดขึ้น เพื่อบ่งชี้และประเมินผลกระทบรวมทั้งความเสี่ยงในด้านต่างๆ ได้
4.มีทักษะการเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างด้านสิ่งแวดล้อม ควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อม และสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.สามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.สามารถเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1อธิบายความรู้หลักการและทฤษฎีในรายวิชาที่เรียนได้ สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์หรืองานที่รับผิดชอบ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสังคม
2สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์หรืองานที่รับผิดชอบ มีความรู้พื้นฐานทางวิชาชีพ ได้แก่ สามารถวางแผน ประเมิน วิเคราะห์สถานะสุขภาพ ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน นำวิธีการและกลยุทธ์ทางอนามัยสิ่งแวดล้อมไปใช้ในการแก้ปัญหา เลือกวิธีการบําบัดโรคเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและฟื้นฟูเพื่อการส่งต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3มีความรู้ทางวิชาชีพ สามารถให้คําแนะนํา คําปรึกษาเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อม การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรค การบําบัดโรคเบื้องต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ สามารถตรวจประเมินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การดูแลให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อการส่งต่อ สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
4สามารถปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุม ป้องกันปัจจัยที่ทําให้เกิดโรค และลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน ตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพอนามัยและคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1) เป็นผู้มีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการหรือมีความรู้เทียบเท่าตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง

2)  ไม่เคยต้องโทษตามคำพิพากษาของศาล เว้นแต่ในกรณีโทษนั้นเกิดจากความผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดอันเป็นลหุโทษ

3) มีความประพฤติดี ไม่เคยถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใด เนื่องจากความประพฤติเสื่อมเสีย

4) ไม่เป็นคนวิกลจริต

5) เป็นผู้ที่มีร่างกายและสุขภาพสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ1120120120120120
20108108108108
300103103103
40009898
A:รวม120228331429429
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ000098

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   47561.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

การสำเร็จการศึกษา และการขอรับปริญญา เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552 หมวด 10 การสำเร็จการศึกษาและการขอรับปริญญา โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้

(1)    เรียนครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

(2)    ระดับแต้มคะแนนเฉลี่ยสะสมขั้นต่ำ 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)

(3)    แต้มเฉลี่ยสะสมเฉพาะรายวิชาในรหัส EH ไม่ต่ำกว่า 2.00

หมวด 10

การสําเร็จการศึกษา และการขอรับปริญญา

ข้อ 40 นักศึกษาที่จะสําเร็จการศึกษาต้องยื่นคําร้อง ขอแจ้งจบที่สํานักทะเบียนและประมวลผลภายใน ระยะเวลาที่กําหนด

ข้อ 41 ผู้มีสิทธิ์ขอรับปริญญา ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขดังนี้

41.1 เรียนครบตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในหลักสูตรสาขาวิชาและได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่ ต่ํากว่า 2.00 หรือเป็นไปตามเงื่อนไขเฉพาะของแต่ละคณะวิชา สําหรับกรณีที่นักศึกษาเรียนครบตามหลักสูตรสาขาวิชา แต่ได้แต้มเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 2.00 แต่ไม่ต่ำกว่า 1.75 อาจขอรับอนุปริญญาได้

41.2 มีความประพฤติดีสมกับศักดิ์ศรีแห่งปริญญานั้น ๆ

41.3 ไม่มีพันธะด้านหนี้สินใด ๆ กับมหาวิทยาลัย

ข้อ 42 ให้นักศึกษายื่นคําร้องแสดงความจํานงขอรับปริญญา หรืออนุปริญญาต่อสํานักทะเบียนและ ประมวลผล เมื่อเป็นนักศึกษาภาคการศึกษาสุดท้ายที่ลงทะเบียนเรียนครบตามหลักสูตร

ข้อ 43 การให้ปริญญาเกียรตินิยม นักศึกษาที่ได้รับการเสนอให้รับปริญญาเกียรตินิยมต้องมีคุณสมบัติ ตามข้อ 41 และมีเงื่อนไขดังนี้

43.1 ปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ให้แก่นักศึกษาที่

(1) ได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหลักสูตร

(2) ได้แต้มเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.60 ขึ้นไป

(3) ไม่มีรายวิชาใดที่ได้ระดับคะแนน หรือสัญลักษณ์ U

(4) ไม่เคยศึกษาซ้ำในรายวิชาใด

43.2 ปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับสอง ให้แก่นักศึกษาที่

(1) ได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหลักสูตร

(2) ได้แต้มเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.25 ขึ้นไป

(3) ไม่มีรายวิชาใดที่ได้ระดับคะแนน หรือสัญลักษณ์ U

(4) ไม่เคยศึกษาในรายวิชาใด

ข้อ 44 นักศึกษาที่ขอเทียบโอนจากสถาบันอื่น นักศึกษาที่ขอศึกษาปริญญาที่สอง นักศึกษาที่ขอเทียบโอนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และมีการเทียบโอนรายวิชา รวมทั้งนักศึกษาหลักสูตรปริญญาต่อเนื่องไม่มีสิทธิ์ได้รับปริญญาตรีเกียรตินิยม

ข้อ 45 การอนุมัติปริญญา

45.1 คณบดีเป็นผู้เสนอชื่อผู้สมควรได้รับปริญญาหรืออนุปริญญา

45.2 สภามหาวิทยาลัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติปริญญาหรืออนุปริญญา

ข้อ 46 การให้เหรียญรางวัลแก่ผู้เรียนดี ให้คณะ/สาขาวิชาเสนอชื่อผู้สําเร็จการศึกษาที่มีคุณสมบัติ ตามข้อ 43 เพื่อขอรับเหรียญรางวัลเรียนดีตลอดหลักสูตรตามเงื่อนไขต่อไปนี้

46.1 เหรียญทอง ให้แก่ผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้รับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่งที่ได้แต้ม ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงสุดในแต่ละหลักสูตรสาขาวิชา

46.2 เหรียญเงิน ให้แก่ผู้สําเร็จการศึกษาที่ได้รับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และจะ ต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมสูงสุดรองจากเหรียญทองในแต่ละหลักสูตรสาขาวิชา

46.3 กรณีที่ผู้สําเร็จการศึกษาได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมสูงสุด แต่ได้ปริญญาตรี เกียรตินิยมอันดับสองในแต่ละหลักสูตรสาขาวิชาให้ได้เหรียญเงิน

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร.pdf
03/09/2018 14:45:05231.62 KB
ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตร.pdf
25/03/2019 14:49:33191.71 KB
มคอ2.pdf
22/07/2019 17:19:121.59 MB
เอกสารการประชุม.pdf
10/09/2018 13:45:28783.66 KB