25320031100032_2110_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2559)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   03/08/2559  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2559
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2532  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2554  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Thai Language  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศิลปศาสตรบัณฑิตBachelor of Artsศศ.บ.B.A.ภาษาไทย
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร   135 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    30     หน่วยกิต
  2) หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต
     2.1 วิชาเอก     84    หน่วยกิต  
  - วิชาบังคับ    42    หน่วยกิต
  - วิชาเลือก    27     หน่วยกิต
 - วิชาบังคับเลือก    15     หน่วยกิต
     2.2 วิชาโท    15     หน่วยกิต
3) หมวดวิชาเลือกเสรี   6   หน่วยกิต

 

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ135

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ((ภาษาอังกฤษบางรายวิชา))  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25320031100032_2110_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2559)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2559  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
07/01/2019 23:29:38283.07 KB
CouncilApprove2673.pdf
31/03/2020 21:37:30302.28 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ More Info...
 อาจารย์ศุภกิต บัวขาววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์หนึ่งฤทัย ปานแก้ววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์แก้วตา จันทรานุสรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มารศรี สอทิพย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วาลี ปรีชาปัญญากุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ More Info...
 อาจารย์ศุภกิต บัวขาววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์หนึ่งฤทัย ปานแก้ววุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
มีการจัดการศึกษาภาคการศึกษาพิเศษ เดือน มิถุนายน-กรกฎาคม จำนวน 8 สัปดาห์ (ถ้ามี)
 
       
     
   

25320031100032_2110_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2559)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีวินัย ตรงต่อเวลา
 1.2มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 1.3มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
 1.4*มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1สามารถแสดงออกถึงความรู้และความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยกับวิถีชีวิตชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งมีความรู้ในหลักการเป็นผู้นำที่ดีในการบริหารจัดการสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่เป็นพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 2.2มีความรู้ในหลักการทฤษฎีของศาสตร์เกี่ยวกับพลังงานสิ่งแวดล้อม การเป็นผู้ประกอบการตลอดจนเรียนรู้ หลักการพัฒนาแนวคิดเชิงสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบเพื่อการแก้ไขปัญหาหรือใช้ในชีวิตประจำวันได้
 2.3*มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาวิชาตามหลักสูตร รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ในสาขาวิชา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แยกแยะประเด็นต่าง ๆ ในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิต
 3.2สามารถสังเคราะห์ความรู้ที่หลากหลายในการสร้างสรรค์ผลงาน
 3.3สามารถแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและการทำงานได้
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีภาวะการเป็นผู้นำ
 4.2สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้ความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม (ยอมรับความแตกต่าง)
 4.3มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (รับผิดชอบ)
 4.4มีความรัก/เอื้ออาทรต่อสังคมและสถาบัน
 4.5มีจิตอาสาและเสียสละ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารภาษาอังกฤษประจำวัน
 5.2สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์/วิจัยในการวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาชีวิตประจำวัน
 5.3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแสวงหาความรู้ การประมวลความรู้และการสื่อสาร
 5.4*มีความรู้และสามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี และภาษาอาเซียนบวก 3 ได้อีก 1 ภาษา
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีทัศนคติที่ดีต่อการงานและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
 1.2ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
 1.3 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและสังคมที่มีคุณธรรมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
 1.4 มีความรอบรู้และรอบคอบในการใช้ภาษาไทย และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมไทย
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1 มีความรอบรู้ในภาษาและวัฒนธรรมไทย
 2.2มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.3 มีความรู้และสามารถพัฒนาความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยให้เพิ่มพูนยิ่งขึ้น
 2.4มีความรู้เท่าทันสื่อ สามารถส่งสาร รับสาร และสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
 2.5มีความรู้ความเข้าใจและความเชี่ยวชำนาญในการใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 2.6มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของวรรณกรรม ตลอดจนสามารถประเมินค่าวรรณกรรมได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1สามารถวิเคราะห์และประเมินค่า
 3.2สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ให้เป็นหลักในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิผล
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
 4.2ตระหนักในความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี
 4.3มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและสาขาวิชาการ/วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้ภาษาไทย ในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5.2สามารถสื่อสารข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
 5.3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารอย่างสร้างสรรค์
 5.4สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาไทย พัฒนาการภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้กระบวนการและกลวิธีการรับและส่งสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิผล นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจแนวทางการศึกษาวรรณกรรมในประเทศไทย นักศึกษามีความภูมิใจในภาษาไทยและเจตคติที่ต่อภาษาไทย นอกจากนี้ในรายวิชาที่เน้นการปฏิบัติ นักศึกษาสามารถเรียนรู้และฝึกปฏิบัติทั้งในสถาณการณ์จริงและสถานการณ์จำลองได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำความรู้ไปพัฒนาต่อยอดในรายวิชาต่างๆ ในระดับที่สูงขึ้นไป
2นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในรายวิชาต่างๆ จากสายภาษาศาสตร์ วรรณกรรม สายภาษาสื่อสารมวลชน นักศึกษาสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจและความถนัด นอกจากนี้นักศึกษาต้องเลือกเรียนวิชาโทและภาษาที่ 3 ที่ตนเองสนใจเพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาการเรียนเเละเตรียมพร้อมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการไปสหกิจ
3นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรมไทยที่ปรากฎในสังคมระดับต่างๆ ครอบครัว ท้องถิ่น สังคมเมือง สังคมชนบท มีความสามารถในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลแล้วนำความรู้และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากชุมชนมาเขียนบทความวิชาการได้อย่างมีประสิทธิผล
4นักศึกษาสามารถเลือกเรียนในรายวิชา สัมมนาทางภาษาและวรรณกรรมไทย โครงงานพิเศษทางภาษาและวรรณกรรมไทย หรือเลือกไปสหกิจศึกษา ในส่วนของการเรียน นักศึกษาต้องมีกระบวนการคิด วิเคราะห์ แยกแยะข้อมูล มีการกำหนดประเด็น การสืบค้นและการนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยด้านภาษาและวรรณกรรมไทย มีความรู้และความเข้าใจลักษณะด้านวิชาชีพที่เกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรมในองค์กรต่าง ๆ ทั้งนี้นักศึกษาต้องสามารถนำเสนอผลงานวิจัยของตนเองในเวทีวิจัยได้อย่างมีประสิทธิผล นักศึกษาที่ไปไปสหกิจในหน่วยงานต่างๆ นักศึกษาสามารถฝึกปฏิบัติงานเพื่ออาชีพที่เกี่ยวกับภาษาและวรรณกรรมไทย สามารถรายงานผลและการนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติงานในรูปแบบงานวิจัยและผลงานทางภาษาและวรรณกรรมไทย ทั้งนี้นักศึกษาต้องมีศักยภาพในการนำความรู้จากการเรียนในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้กับการทำงานจริงและมีผลงานที่หน่วยงานหรือองค์กรสามารถนำไปใช้ได้จริง นักศึกษาสามารถนำเสนอผลงานสหกิจศึกษาของตนเองได้อย่างเป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ และมีความพร้อมที่จะทำงานกับองค์กรต่างๆ ได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1) หลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี หรือ 5 ปี หรือ 6 ปีจะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาหรือเทียบเท่า  หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคการศึกษาสุดท้ายของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

2) เป็นผู้มีคุณสมบัติอื่นตามเกณฑ์คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาที่กำหนดไว้ในหลักสูตรระดับปริญญาตรีสาขาวิชานั้นๆ และหรือตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่นที่เกี่ยวข้องกับการรับเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญาตรีสาขาวิชานั้นๆ 
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25592560256125622563
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ16060606060
2060606060
300606060
40006060
A:รวม60120180240240
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0006060

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   20808.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

1. สอบผ่านรายวิชาครบตามหลักสูตร ดังนี้
    1.1 การนับหน่วยกิตในแต่ละรายวิชาให้นับครั้งเดียว
    1.2 ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตรว่าเป็นรายวิชาที่เทียบเท่ากัน ให้นับรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งเป็นหน่วยกิตที่ได้

2. มีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.00 และมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมในรายวิชาที่คณะกำหนดไม่ต่ำกว่า   2.00 หรือได้ไม่ต่ำกว่า C ทุกรายวิชา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
3. มีคุณสมบัติตามข้อ1 (ข้อ 30.1 ของ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2555)

3.1 มีความประพฤติเรียบร้อยตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่มหาวิทยาลัยกำหนด
3.2 ไม่อยู่ระหว่างการถูกสอบสวนทางวินัยนักศึกษาอย่างร้ายแรงตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยวินัยนักศึกษา

3.3 มีคุณสมบัติอื่นตามที่หลักสูตรหรือคณะหรือมหาวิทยาลัยกำหนด

3.4 นักศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ตามข้อ 29.2 (หมวดที่ 8 ข้อ 29 การตกออก ของ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2555) แต่ได้ศึกษาและสอบผ่านรายวิชาในหลักสูตรครบตามเกณฑ์ที่สามารถขอรับอนุปริญญาได้ คณะอาจพิจารณาให้เป็นผู้สำเร็จการศึกษาในระดับอนุปริญญา ทั้งนี้การให้อนุปริญญาต้องเป็นไปตามข้อ 2 (ข้อ 30.2 ของ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาขั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2555)

3.5 วันที่สำเร็จการศึกษา ให้ถือวันที่คณะกรรมการประจำคณะรับรองการสำเร็จการศึกษา
4. สอบผ่านเกณฑ์การสอบวัดความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี (ตามประกาศของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 486/2555) เรื่อง การทดสอบความรู้ความสามารถและทักษะตามหลักสูตรมาตรฐานความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐานสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 2) ดังนี้

4.1 ภาคทฤษฎี เป็นการสอบวัดความรู้ครอบคลุม 3 เนื้อหา คือ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้นและการจัดการไฟล์ และสารสนเทศและการสื่อสาร ใช้เวลาสอบไม่เกิน 60 นาที

4.2 ภาคปฏิบัติ เป็นการสอบวัดทักษะทางด้านการประยุกต์การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยการประมวลผลคำ ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ การนำเสนอผลงาน และฐานข้อมูล ใช้เวลาในการสอบไม่เกิน 180 นาที

4.3 เมื่อนักศึกษาผ่านเกณฑ์ด้วยคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ครบทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติแล้วถือว่าผ่านหลักสูตรมาตรฐานฯ

5. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการของมหาวิทยาลัยรวมทั้งสิ้นไม่น้อยกว่า60 หน่วยกิต ครบทั้ง 5 ด้าน (ตามข้อ 7 และ ข้อ 8 ของ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 1688/2557) เรื่องหลักเกณฑ์การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น) 6. นักศึกษาต้องได้รับการทดสอบหรือประเมินสมรรถนะทางภาษาอังกฤษก่อนสำเร็จการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งตามหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด(ตามประกาศสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 2/2557) เรื่อง นโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ข้อ 5.1.5 และ ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 2256/2560 เรื่อง การใช้ผลสอบภาษาอังกฤษเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น) ดังนี้

6.1 ผลสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยขอนแก่น Khon Kaen University English Proficiency Test-KEPT

6.2 ผลสอบมาตรฐานจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ผลสอบ TOEFL, ผลสอบ IELTS และ ผลสอบ TOEIC


 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
01/04/2020 13:56:5119.55 MB
แบบ สมอ.08_เปลี่ยน อ.ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ อ.ประจำหลักสูตร (สภา มข. อนุมัติ 1-2561).pdf
01/04/2020 13:45:34199.52 KB