25310061100271_2121_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   17/05/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2560
   หลักสูตรสังกัดคณะ   สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2531  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Neuroscience (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.2
ปริญญาเอก 2.1
ปริญญาเอก 1.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.ประสาทวิทยาศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

         จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  เรื่อง  เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ ๒๕๕๘ หลักสูตรปริญญาเอก แบบ ๑ และแบบ ๒  ดังนี้

                   แบบ ๑ ทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว

                          แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

วิทยานิพนธ์                         ๔๘      หน่วยกิต

                                      รวมไม่น้อยกว่า           ๔๘      หน่วยกิต

หมายเหตุ  นักศึกษาต้องลงทะเบียนรายวิชาสัมมนาโดยไม่นับหน่วยกิต

                   แบบ ๒  ศึกษารายวิชา และทำวิทยานิพนธ์

                         แบบ ๒.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

                             หมวดวิชาบังคับ                              หน่วยกิต

                             หมวดวิชาเลือกไม่น้อยกว่า                  หน่วยกิต

                             วิทยานิพนธ์                          ๓๖      หน่วยกิต

                                      รวมไม่น้อยกว่า            ๔๘      หน่วยกิต

 

                          -  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท  สาขาวิชาอื่นๆ แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

                             หมวดวิชาบังคับ                     ๑๕      หน่วยกิต

                             หมวดวิชาเลือกไม่น้อยกว่า                  หน่วยกิต

                             วิทยานิพนธ์                          ๓๖      หน่วยกิต

                                      รวมไม่น้อยกว่า            ๕๖      หน่วยกิต

 

            แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี แล้วเข้าศึกษาต่อระดับ ปริญญาเอก

     หมวดวิชาบังคับ                     ๒๑      หน่วยกิต

                             หมวดวิชาเลือกไม่น้อยกว่า                  หน่วยกิต

                             วิทยานิพนธ์                         ๔๘      หน่วยกิต

                                      รวมไม่น้อยกว่า           ๗๔      หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.274
ปริญญาเอก 2.148-56
ปริญญาเอก 1.148

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25310061100271_2121_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
09/04/2019 08:18:54767.14 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์บัณฑิต เจตน์สว่างวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์วิภาวรรณ ตั้งนิพนธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of London More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุจิรา มุกดาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์บัณฑิต เจตน์สว่างวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ศาสตราจารย์ปิยะรัตน์ โกวิทตรพงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Nebraska, UK More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วิภาวรรณ ตั้งนิพนธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of London More Info...
 อาจารย์สุคนธา งามประมวญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุจิรา มุกดาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ระยะเวลา 6 สัปดาห์ เริ่มการเรียนการสอนสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมิถุนายน ถึง สัปดาห์แรกของเดือนสิงหาคม
 
       
     
   

25310061100271_2121_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน
 1.2ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิชาการ ซื่อสัตย์ในการอ้างอิง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น
 1.3มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์
 2.2ติดตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้
 2.3มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1ประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
 3.2วิเคราะห์ บูรณาการองค์ ความรู้และสามารถสังเคราะห์ผลงานการวิจัย บทความวิชาการ เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์
 3.3วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง และประมวลความรู้ได้ด้วยตนเอง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
 4.2แสดงออกถึงการเป็นผู้นำและสร้างปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย
 5.2สื่อสาร นำเสนอรายงานจากโครงการค้นคว้าที่สำคัญหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ วิทยานิพนธ์และวารสารทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ
 5.3สื่อสารทั้งการพูด การฟังและการเขียนและเลือกใช้รูปแบบของการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม ทางวิชาการและประพฤติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
  1.1 :มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน(1)
  1.2 :ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิชาการ ซื่อสัตย์ในการอ้างอิง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น(1)
  1.3 :มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร(1)
[Collapse]PLO: PLO2 มีความรู้และทักษะทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย สามารถบูรณาการความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์กับความรู้ในสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  2.1 :มีความรู้และเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์(2)
  2.2 :ติดตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้(2)
  2.3 :มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้(2)
[Collapse]PLO: PLO3 วิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ทฤษฏีและเทคนิคต่างๆในการพัฒนางานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ด้านระบบประสาทและพฤติกรรม
  3.1 :ประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม (3)
  3.2 :วิเคราะห์ บูรณาการองค์ ความรู้และสามารถสังเคราะห์ผลงานการวิจัย บทความวิชาการ เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์(3)
  3.3 :วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง และประมวลความรู้ได้ด้วยตนเอง(3)
[Collapse]PLO: PLO4 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความเป็นผู้นำที่เหมาะสม หรือสามารถปฏิบัติตนตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
  4.1 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง(4)
  4.2 :แสดงออกถึงการเป็นผู้นำและสร้างปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์(4)
[Collapse]PLO: PLO5 สามารถวิเคราะห์ตัวเลข สื่อสาร สืบค้นและนำเสนองานและความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
  5.1 :สามารถใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย(5)
  5.2 :สื่อสาร นำเสนอรายงานจากโครงการค้นคว้าที่สำคัญหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ วิทยานิพนธ์และวารสารทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ(5)
  5.3 :สื่อสารทั้งการพูด การฟังและการเขียนและเลือกใช้รูปแบบของการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.33.13.23.34.14.25.15.25.3
PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม ทางวิชาการและประพฤติตนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
PLO2 มีความรู้และทักษะทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย สามารถบูรณาการความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์กับความรู้ในสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
PLO3 วิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ทฤษฏีและเทคนิคต่างๆในการพัฒนางานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพ ด้านระบบประสาทและพฤติกรรม
PLO4 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความเป็นผู้นำที่เหมาะสม หรือสามารถปฏิบัติตนตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
PLO5 สามารถวิเคราะห์ตัวเลข สื่อสาร สืบค้นและนำเสนองานและความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11.มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน 2.ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิชาการ ซื่อสัตย์ในการอ้างอิง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น 3.มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.ติดตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้ 5.มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง 6.แสดงออกถึงการเป็นผู้นำและสร้างปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ 7.สามารถใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย 8.สื่อสารทั้งการพูด การฟังและการเขียนและเลือกใช้รูปแบบของการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
21.มีความรู้และเข้าใจอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ 2.ประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 3.
31.มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้ 2.วิเคราะห์ บูรณาการองค์ ความรู้และสามารถสังเคราะห์ผลงานการวิจัย บทความวิชาการ เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ 3.วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง และประมวลความรู้ได้ด้วยตนเอง
41.มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อบูรณาการความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้ 2.วิเคราะห์ บูรณาการองค์ ความรู้และสามารถสังเคราะห์ผลงานการวิจัย บทความวิชาการ เพื่อสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ 3.วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง และประมวลความรู้ได้ด้วยตนเอง 4.สื่อสาร นำเสนอรายงานจากโครงการค้นคว้าที่สำคัญหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ วิทยานิพนธ์และวารสารทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

แบบ ๑ ทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว

          แบบ ๑.๑ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท แล้วเข้าศึกษาต่อปริญญาเอก

(๑)   สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

(๒)    ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐
(๓)                 (๓) มีผลงานวิจัยด้านประสาทวิทยาศาสตร์หรือสาขาที่เกี่ยวข้องตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติและอยู่ในฐานข้อมูลที่
     สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษายอมรับ โดยเป็นชื่อแรก หรือเป็น corresponding author จำนวนอย่างน้อย ๑ ผลงาน

 

(๔)  ต้องมีผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๕)      ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 

แบบ ๒  ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์

แบบ ๒.๑  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท แล้วเข้าศึกษาต่อปริญญาเอก

(๑)  สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
              (๒)   ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐

 

              (๓) ต้องมีผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
              (๔) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

แบบ ๒.๒ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี แล้วเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก

  (๑) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
                 (๒) ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมอยู่ในระดับเกียรตินิยม   

 

                  (๓) ต้องมีผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 
                  (๔)  ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจ
ของประธานหลักสูตรและ
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาเอก 1.1133333
203333
300333
A:รวม36999
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00333
ปริญญาเอก 2.1144444
204444
300444
A:รวม48121212
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00444
ปริญญาเอก 2.2133333
203333
300333
400033
A:รวม3691212
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00033

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   89900.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

แบบ ๑ ทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว
๑. ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๒. ต้องศึกษารายวิชาตามที่หลักสูตรกำหนดโดยไม่นับหน่วยกิตและทำวิทยานิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า
๔๘ หน่วยกิต 
๓. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๔. สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
๕. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
๖.ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง
และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
        
.ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิม์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ ประเมิน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย ๒ ฉบับโดยต้องเป็นผู้นิพนธ์ในลำดับแรกอย่างน้อย ๑ ฉบับ   

     แบบ ๒  ศึกษารายวิชา และทำวิทยานิพนธ์

๑.  ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา
 ๒.  ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ  ตามโครงสร้างหลักสูตร คือ

            (๑) ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ต้องและศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๖ หน่วยกิต 

และทำวิทยานิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดกหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๔ หน่วยกิต

             (๒) ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท  สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิตและทำวิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิตรวม จำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔๘ หน่วยกิต

           (๓) ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาอื่นๆ เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๐ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๕๖ หน่วยกิต  

          ๓. ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐
          ๔. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยมหิดล

          ๕. สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) 

          ๖. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
   ๗. ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
           ๘. ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิม์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย ๑ ฉบับ โดยต้องเป็นผู้นิพนธ์ในลำดับแรก

 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
19/06/2020 20:37:0028.12 MB