25300681100144_2117_IP:หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยการออกแบบ
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   18/03/2563  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2563
   หลักสูตรสังกัดคณะ   วิทยาลัยการออกแบบ  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2530  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2562  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Fine Arts Program in Visual Communication Design  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศิลปบัณฑิตBachelor of Fine Artsศล.บ.B.F.A.การออกแบบนิเทศศิลป์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร



รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ120

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25300681100144_2117_IP:หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยการออกแบบ
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2563  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
24/03/2020 17:40:17316.47 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ชินภัศร์ กันตะบุตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ดนุ ภู่มาลีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิชัย เมฆเกิดชูวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สิรดา ไวยาวัจมัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อครพล กฤตฤานนท์วงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์วันทวี สิมชมภูวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์วิษณุนาท กตัญญูทวีทิพย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อัฐวุฒิ จ่างวิทยา วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี

อาจมีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนอีก 1 ภาคการศึกษา ซึ่งมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ หรือตามดุลยพินิจของหัวหน้าสาขาวิชา

 
       
     
   

25300681100144_2117_IP:หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2563)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยการออกแบบ
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1-51) มีจิตสำนึกและเข้าใจธรรมชาติของตนเอง ต่อผู้อื่น และสังคม 2) มีความเข้าใจในหลักการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม 3) มีความตระหนักและเห็นคุณค่าในความแตกต่างของชาติพันธุ์ ตลอดจนวัฒนธรรมของ ชาติและนานาชาติ 4) มีหลักในการคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรม 5) มีจิตสาธารณะ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1-31) มีความรู้และสามารถผสมผสานเนื้อหาในศาสตร์สาขาต่างๆ ได้ 2) มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม สิ่งแวดล้อมทั้งในระดับ ท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ 3) มีความรู้ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1-31) มีความสามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่างเป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล 2) มีความสามารถคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการ และเชื่อมโยงอย่างเป็นองค์รวม 3) มีความสามารถคิดอย่างสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหาที่เผชิญได้
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1-31) มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และสังคม 2) มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม 3) มีความใจกว้าง รับฟังและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1-31) มีความสามารถคิดวิเคราะห์ จำแนก และตีความข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อ การแก้ไขปัญหาและตัดสินใจ 2) มีความสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม ทั้งทักษะการพูด เขียน อ่าน ฟัง 3) มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น นำเสนอ และสื่อสารได้อย่าง เหมาะสมทันต่อความก้าวหน้าของสถานการณ์ปัจจุบัน
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1-31) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1-41) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2) มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่าง เป็นระบบ 3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1-41) สามารถค้นคว้ารวบรวมและประเมินข้อมูล จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ 2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถบูรณการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4) มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1-31) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ ที่ดี 2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1-31) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือ การนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงาน ศิลปกรรม
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะพิสัย
 1สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษาสามารถใช้ทักษะพื้นฐานศิลปะในการถ่ายทอดความคิดและเรื่องราวต่างๆ ของตนเอง เห็นถึงความเชื่อมโยงของศิลปะในยุคสมัยต่างๆ กับปัจจุบัน มีความเข้าใจแนวคิดและหลักการพื้นฐานของการสื่อสาร พื้นฐานความคิดเชิงการออกแบบ การใช้ภาพเพื่อการสื่อสารข้อมูล การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใช้การสร้างสรรค์ผลงาน พัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษ
2นักศึกษาสามารถสื่อสารข้อมูล และความคิดกับผู้อื่นได้ เรียนรู้และเข้าใจการค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล เข้าใจถึงภาพรวมของงานออกแบบนิเทศศิลป์ ได้เรียนรู้พื้นฐานองค์ความรู้ต่างๆ ผ่านการเรียนรู้และสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษาในแขนงต่างๆ ของงานออกแบบนิเทศศิลป์ เพื่อสามารถเลือกแนวทางในการศึกษาในแขนงที่ตนเองสนใจต่อไป การนำเสนอความคิดและผลงานของตนเองได้
3นักศึกษาเรียนรู้และเข้าใจในองค์ความรู้ สามารถใช้ทักษะสร้างสรรค์ผลงานที่สื่อสารกับผู้รับสารผ่านผลงาน ในแขนงของงานนิเทศศิลป์ที่ตนเองเลือกได้อย่างเหมาะสม เข้าใจในความคิดเชิงการออกแบบในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เข้าใจในการปรับใช้องค์ความรู้ในงานออกแบบนิเทศศิลป์กับการทำธุรกิจ สามารถทำงานเป็นร่วมกันผู้อื่นได้ การนำเสนอความคิดและผลงานของตนเองได้
4นักศึกษาสามารถเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่ได้ศึกษาสร้างสรรค์รูปแบบการทำงาน และผลงานของตนเองได้อย่างเหมาะสม การนำเสนอความคิดและผลงานของตนเองได้

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1)  สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ  หรือเทียบเท่า และมหาวิทยาลัยพิจารณาแล้วเห็นสมควรเข้ารับศึกษา

2)  ผ่านการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษาตามระเบียบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัย

3) ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือถูกไล่ออกจากสถาบันอุดมศึกษาใดๆ เพราะความผิดทางวินัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25632564256525662567
ปริญญาตรี 4 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ1100100100100100
2095959595
300909090
40008585
A:รวม100195285370370
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0008080

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   103850.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

        1.  หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 6 ภาคการศึกษาปกติ   

        2.  เรียนครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

        3.  ระดับแต้มคะแนนเฉลี่ยสะสม (CGPA) ไม่ต่ำกว่า 2.00 ตลอดจนแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาชีพบังคับ

              และวิชาเลือกไม่ต่ำกว่า 2.00 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
23/04/2020 13:48:143.25 MB