25300061100369_2113_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   17/05/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2560
   หลักสูตรสังกัดคณะ   สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2530  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Neuroscience (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.ประสาทวิทยาศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาบังคับ                 15   หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกไม่น้อยกว่า    9   หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์                       12   หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า                  36   หน่วยกิต

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25300061100369_2113_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
19/05/2020 14:41:20450.09 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์บัณฑิต เจตน์สว่างวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วิภาวรรณ ตั้งนิพนธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุจิรา มุกดาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์บัณฑิต เจตน์สว่างวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ศาสตราจารย์ปิยะรัตน์ โกวิทตรพงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรสิทธิ์ ศิริพรพาณิชย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์วิภาวรรณ ตั้งนิพนธ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of London More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุคนธา งามประมวญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุจิรา มุกดาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
มีภาคฤดูร้อน จำนวน 3 หน่วยกิต ระยะเวลาการจัดการเรียนการสอน 5 สัปดาห์ เริ่มการเรียนการสอนเดือนมิถุนายน สิ้นสุดเดือนกรกฎาคม
 
       
     
   

25300061100369_2113_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1ความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน
 1.2ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิชาการ ซื่อสัตย์ในการอ้างอิง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น
 1.3มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์
 2.2ติดตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้
 2.3มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อเชื่อมโยงความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1ประยุกต์ความรู้และทักษะการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
 3.2วิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ จากผลงานวิจัย บทความวิชาการ เพื่อพัฒนาความคิดใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์
 3.3วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง ประมวล ได้ด้วยตนเอง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง
 4.2แสดงทักษะการเป็นผู้นํา ผู้ตามในการประสานงานแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ด้วยสัมพันธภาพ อันดี
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย
 5.2นำเสนอรายงานจากโครงการค้นคว้าที่สำคัญหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
 5.3สื่อสารทั้งการพูด การฟัง และการเขียนได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม และประพฤติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  1.1 :ความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน(1)
  1.2 :ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิชาการ ซื่อสัตย์ในการอ้างอิง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น(1)
  1.3 :มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร(1)
[Collapse]PLO: PLO2 มีความรู้และทักษะทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ทั้งแนวคิดที่เป็นรากฐานและความรู้ที่ทันสมัย เชื่อมโยงความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์กับความรู้ในสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  2.1 :มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์(2)
  2.2 :ติดตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้(2)
  2.3 :มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อเชื่อมโยงความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้(2)
[Collapse]PLO: PLO3 วิเคราะห์พัฒนางานทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง เพื่อแก้ปัญหาทางสุขภาพ ด้านระบบประสาทและพฤติกรรม โดยกระบวนการที่เหมาะสม
  3.1 :ประยุกต์ความรู้และทักษะการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(3)
  3.2 :วิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ จากผลงานวิจัย บทความวิชาการ เพื่อพัฒนาความคิดใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์(3)
  3.3 :วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง ประมวล ได้ด้วยตนเอง(3)
[Collapse]PLO: PLO4 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
  4.1 :มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง(4)
  4.2 :แสดงทักษะการเป็นผู้นํา ผู้ตามในการประสานงานแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ด้วยสัมพันธภาพ อันดี(4)
[Collapse]PLO: PLO5 สามารถเก็บข้อมูล สื่อสารและนำเสนอผลงานวิชาการด้านความเป็นสากลในวิชาการทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ตัวเลข สื่อสาร สืบค้นความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
  5.1 :สามารถใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย(5)
  5.2 :นำเสนอรายงานจากโครงการค้นคว้าที่สำคัญหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (5)
  5.3 :สื่อสารทั้งการพูด การฟัง และการเขียนได้อย่างเหมาะสม(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.33.13.23.34.14.25.15.25.3
PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม และประพฤติตนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
PLO2 มีความรู้และทักษะทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ทั้งแนวคิดที่เป็นรากฐานและความรู้ที่ทันสมัย เชื่อมโยงความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์กับความรู้ในสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
PLO3 วิเคราะห์พัฒนางานทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง เพื่อแก้ปัญหาทางสุขภาพ ด้านระบบประสาทและพฤติกรรม โดยกระบวนการที่เหมาะสม
PLO4 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
PLO5 สามารถเก็บข้อมูล สื่อสารและนำเสนอผลงานวิชาการด้านความเป็นสากลในวิชาการทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ตัวเลข สื่อสาร สืบค้นความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11.ความซื่อสัตย์ต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน 2.ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิชาการ ซื่อสัตย์ในการอ้างอิง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น 3.มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ 5.ติดตามความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงขององค์ความรู้ 6.ประยุกต์ความรู้และทักษะการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 7.มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง 8.แสดงทักษะการเป็นผู้นํา ผู้ตามในการประสานงานแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ด้วยสัมพันธภาพ อันดี 9.สามารถใช้หลักการทางคณิตศาสตร์และทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัย 10.นำเสนอรายงานจากโครงการค้นคว้าที่สำคัญหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 11.สื่อสารทั้งการพูด การฟัง และการเขียนได้อย่างเหมาะสม
21.มีความรู้ทางประสาทวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพื่อเชื่อมโยงความรู้และพัฒนาความรู้ใหม่ได้ 2.วิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ จากผลงานวิจัย บทความวิชาการ เพื่อพัฒนาความคิดใหม่ทางด้านประสาทวิทยาศาสตร์ 3.วางแผนดำเนินการวิจัยและงานวิชาการ เขียนผลการค้นคว้า เรียบเรียง ประมวล ได้ด้วยตนเอง

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1.สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ และวิทยาศาสตร์สาขาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

2.ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 2.50

3.มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

4.ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   127000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

1.ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

2.ศึกษารายวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามโครงสร้างหลักสูตรที่กำหนดไว้คือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต ทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้อซึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

3.ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

4.ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

5.ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

6.ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิติวทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

7.ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิพม์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุมวิชาการ (Proceeding) ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
26/05/2020 13:48:211.67 MB