25270061100175_2151_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   20/12/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2528  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Nutrition  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.1
ปริญญาเอก 2.2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.โภชนศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

            ๑) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน  

ไม่นับหน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

๒๐  หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

 หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

๔๘   หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า

       ๗๓  หน่วยกิต

                        ๒) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาอื่นๆ

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน  

ไม่นับหน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

  หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

   หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

๓๖  หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า

๔๙  หน่วยกิต

                      

                       ๓) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาโภชนศาสตร์

หมวดวิชาบังคับ     

    หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

    หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

๓๖   หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า

๔๘  หน่วยกิต

 

 

                ๔) สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความ ชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาวิชาโภชนศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากแพทยสภา หรือแพทยสภารับรอง

หมวดวิชาบังคับ     

    หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

    หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์

๓๖   หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า

๔๘  หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.149 (ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาอื่นๆ), 48 (ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาโภชนศาสตร์ หรือพ.บ.)
ปริญญาเอก 2.273

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25270061100175_2151_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
11/03/2019 09:26:27291.48 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา ศิริวราศัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์นลินี จงวิริยะพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Tufts University Friedman School of Nutrition More Info...
 อาจารย์ประพิมพ์พร ฉัตรานุกูลชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ปรียา ลีฬหกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีวัฒนา ทรงจิตสมบูรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์ครรชิต จุดประสงค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Mahidol University, Thailand More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา ศิริวราศัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนิพรรณ บุตรยี่วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์ชลัท ศานติวรางคณาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Dr.rer.nat. (Food Biotechnology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Technical University Munich, Germany More Info...
 อาจารย์เชาวนี ชูพีรัชน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Mahidol University, Thailand More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาตรี หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดุลยพร ตราชูธรรมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Texas Health Science Center at Houston, USA. More Info...
 อาจารย์ทิพวัลย์ พงษ์เจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Emory University, U.S.A. More Info...
 อาจารย์ธัญญ์นลิน วิญญูประสิทธิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Mahidol University, Thailand More Info...
 รองศาสตราจารย์นลินี จงวิริยะพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Tufts University Friedman School of Nutrition More Info...
 รองศาสตราจารย์นิภา โรจน์รุ่งวศินกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 อาจารย์ประพิมพ์พร ฉัตรานุกูลชัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ปรียา ลีฬหกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ปิยะ เต็มวิริยะกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Leiden University, The Netherlands More Info...
 รองศาสตราจารย์พรรัตน์ สินชัยพานิชวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Chulalongkorn University More Info...
 อาจารย์รจนา ชุณหบัณฑิตวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์รัชนี คงคาฉุยฉายวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kyoto University, Japan More Info...
 อาจารย์วราภรณ์ มลิลาศวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีวัฒนา ทรงจิตสมบูรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ศิริพร ตันติโพธิ์พิพัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Waterloo, Canada More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกราช เกตวัลห์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kobe Gakuin University, Japan More Info...
 รองศาสตราจารย์เอมอร อุดมเกษมาลีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25270061100175_2151_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา โครงการร่วมคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีจรรยาบรรณในการทำงานวิจัย และการใช้ข้อมูลสารสนเทศ
 2มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กร
 3มีความซื่อสัตย์ สุจริต
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1มีความรู้หลักการ และทฤษฎีขั้นสูง ในสาขาวิชาโภชนศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
 2สามารถประมวลความรู้โดยใช้กระบวนการศึกษาวิจัยได้อย่างถูกต้อง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1มีความสามารถคิดอย่างมีเหตุผล และคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
 2มีทักษะการสืบค้น คัดกรอง ตีความ เรียบเรียง และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา
 3สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะสู่การวางแผน และดำเนินการวิจัยทางโภชนศาสตร์ได้
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
 2มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนและส่วนรวม
 3สามารถประพฤติตัว และแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในสถานการณ์กลุ่มต่างๆ ได้
 4เคารพและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
 2สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
 3สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1. ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  1 :มีจรรยาบรรณในการทำงานวิจัย และการใช้ข้อมูลสารสนเทศ (1)
  2 :มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กร (1)
  3 :มีความซื่อสัตย์ สุจริต(1)
  1 :มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น(4)
  2 :มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนและส่วนรวม (4)
  3 :สามารถประพฤติตัว และแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในสถานการณ์กลุ่มต่างๆ ได้(4)
  4 :เคารพและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม(4)
  1 :สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (5)
  2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ(5)
  3 :สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: 2. สังเคราะห์องค์ความรู้เชิงลึกทางด้านโภชนบำบัด โภชนาการชุมชน พิษวิทยาโภชนาการ โภชนาการเชิงการทดลอง และความรู้ที่เกี่ยวข้องในบริบทใหม่ ที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับอาเซียนและสากล เพื่อพัฒนาและทดสอบทฤษฎีใหม่ หรือค้นหาคำตอบใหม่ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรม
  1 :มีความรู้หลักการ และทฤษฎีขั้นสูง ในสาขาวิชาโภชนศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(2)
  2 :สามารถประมวลความรู้โดยใช้กระบวนการศึกษาวิจัยได้อย่างถูกต้อง(2)
  1 :มีความสามารถคิดอย่างมีเหตุผล และคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ(3)
  2 :มีทักษะการสืบค้น คัดกรอง ตีความ เรียบเรียง และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา (3)
  3 :สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะสู่การวางแผน และดำเนินการวิจัยทางโภชนศาสตร์ได้ (3)
[Collapse]PLO: 3. วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
  1 :มีความรู้หลักการ และทฤษฎีขั้นสูง ในสาขาวิชาโภชนศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(2)
  2 :สามารถประมวลความรู้โดยใช้กระบวนการศึกษาวิจัยได้อย่างถูกต้อง(2)
  1 :มีความสามารถคิดอย่างมีเหตุผล และคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ(3)
  2 :มีทักษะการสืบค้น คัดกรอง ตีความ เรียบเรียง และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา (3)
  3 :สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะสู่การวางแผน และดำเนินการวิจัยทางโภชนศาสตร์ได้ (3)
[Collapse]PLO: 4. ทำงานวิจัยด้านโภชนศาสตร์เชิงลึกได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและเป็นระบบ เพื่อสร้างสรรค์งานวิจัยที่สำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม และตอบสนองการแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน
  1 :มีความรู้หลักการ และทฤษฎีขั้นสูง ในสาขาวิชาโภชนศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(2)
  2 :สามารถประมวลความรู้โดยใช้กระบวนการศึกษาวิจัยได้อย่างถูกต้อง(2)
  1 :มีความสามารถคิดอย่างมีเหตุผล และคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ(3)
  2 :มีทักษะการสืบค้น คัดกรอง ตีความ เรียบเรียง และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา (3)
  3 :สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะสู่การวางแผน และดำเนินการวิจัยทางโภชนศาสตร์ได้ (3)
[Collapse]PLO: 5. แสดงภาวะผู้นําที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและพร้อมทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นบนจุดยืนของพื้นฐานความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ของโภชนศาสตร์ และริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน
  1 :มีจรรยาบรรณในการทำงานวิจัย และการใช้ข้อมูลสารสนเทศ (1)
  2 :มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กร (1)
  3 :มีความซื่อสัตย์ สุจริต(1)
  1 :มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น(4)
  2 :มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนและส่วนรวม (4)
  3 :สามารถประพฤติตัว และแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในสถานการณ์กลุ่มต่างๆ ได้(4)
  4 :เคารพและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม(4)
[Collapse]PLO: 6. ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์และประมวลผล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และใช้ภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานทางวิชาการและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์และเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
  1 :มีความสามารถคิดอย่างมีเหตุผล และคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ(3)
  2 :มีทักษะการสืบค้น คัดกรอง ตีความ เรียบเรียง และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา (3)
  3 :สามารถประยุกต์ความรู้ และทักษะสู่การวางแผน และดำเนินการวิจัยทางโภชนศาสตร์ได้ (3)
  1 :สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมายข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (5)
  2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ(5)
  3 :สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
123121231234123
1. ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. สังเคราะห์องค์ความรู้เชิงลึกทางด้านโภชนบำบัด โภชนาการชุมชน พิษวิทยาโภชนาการ โภชนาการเชิงการทดลอง และความรู้ที่เกี่ยวข้องในบริบทใหม่ ที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับอาเซียนและสากล เพื่อพัฒนาและทดสอบทฤษฎีใหม่ หรือค้นหาคำตอบใหม่ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรม
3. วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
4. ทำงานวิจัยด้านโภชนศาสตร์เชิงลึกได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและเป็นระบบ เพื่อสร้างสรรค์งานวิจัยที่สำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม และตอบสนองการแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน
5. แสดงภาวะผู้นําที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและพร้อมทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นบนจุดยืนของพื้นฐานความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ของโภชนศาสตร์ และริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน
6. ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์และประมวลผล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และใช้ภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานทางวิชาการและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์และเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1PLO 1 ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1PLO 3 วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
2PLO 2 สังเคราะห์องค์ความรู้เชิงลึกทางด้านโภชนบำบัด โภชนาการชุมชน พิษวิทยาโภชนาการ โภชนาการเชิงการทดลอง และความรู้ที่เกี่ยวข้องในบริบทใหม่ ที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับอาเซียนและสากล เพื่อพัฒนาและทดสอบทฤษฎีใหม่ หรือค้นหาคำตอบใหม่ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรม
2PLO 3 วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
2PLO 1 ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3PLO 1 ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3PLO 2 สังเคราะห์องค์ความรู้เชิงลึกทางด้านโภชนบำบัด โภชนาการชุมชน พิษวิทยาโภชนาการ โภชนาการเชิงการทดลอง และความรู้ที่เกี่ยวข้องในบริบทใหม่ ที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับอาเซียนและสากล เพื่อพัฒนาและทดสอบทฤษฎีใหม่ หรือค้นหาคำตอบใหม่ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรม
3PLO 4 ทำงานวิจัยด้านโภชนศาสตร์เชิงลึกได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและเป็นระบบ เพื่อสร้างสรรค์งานวิจัยที่สำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม และตอบสนองการแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน
3PLO 3 วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
4PLO 1 ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
4PLO 2 สังเคราะห์องค์ความรู้เชิงลึกทางด้านโภชนบำบัด โภชนาการชุมชน พิษวิทยาโภชนาการ โภชนาการเชิงการทดลอง และความรู้ที่เกี่ยวข้องในบริบทใหม่ ที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับอาเซียนและสากล เพื่อพัฒนาและทดสอบทฤษฎีใหม่ หรือค้นหาคำตอบใหม่ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรม
4PLO 3 วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
4PLO 4 ทำงานวิจัยด้านโภชนศาสตร์เชิงลึกได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและเป็นระบบ เพื่อสร้างสรรค์งานวิจัยที่สำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม และตอบสนองการแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน
4PLO 6 ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์และประมวลผล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และใช้ภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานทางวิชาการและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์และเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
5PLO 1 ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณ และเจตนคติที่ดีในการปฏิบัติงานและการทำวิจัย มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
5PLO 2 สังเคราะห์องค์ความรู้เชิงลึกทางด้านโภชนบำบัด โภชนาการชุมชน พิษวิทยาโภชนาการ โภชนาการเชิงการทดลอง และความรู้ที่เกี่ยวข้องในบริบทใหม่ ที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการในระดับอาเซียนและสากล เพื่อพัฒนาและทดสอบทฤษฎีใหม่ หรือค้นหาคำตอบใหม่ที่ซับซ้อนและเป็นนามธรรม
5PLO 3 วิเคราะห์ประเด็นและปัญหาสำคัญทางโภชนาการ โดยบูรณาการองค์ความรู้เชิงลึกด้านโภชนศาสตร์และด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาโดยวิธีการใหม่ๆในการตอบสนองความต้องการของชาติทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
5PLO 4 ทำงานวิจัยด้านโภชนศาสตร์เชิงลึกได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและเป็นระบบ เพื่อสร้างสรรค์งานวิจัยที่สำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม และตอบสนองการแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน
5PLO 5 แสดงภาวะผู?นําที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมและพร้อมทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวและแสดงความคิดเห็นบนจุดยืนของพื้นฐานความรู้และความเข้าใจในศาสตร์ของโภชนศาสตร์ และริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน
5PLO 6 ประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการวิเคราะห์และประมวลผล ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสาร และใช้ภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานทางวิชาการและมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์และเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 
1. สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (biological science) จากสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรอง หรือ
2. สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรองโดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ
3. สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์ โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.50 หรือ 
4. สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาวิชาโภชนศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากแพทยสภา หรือแพทยสภารับรอง 
5. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
6. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
 
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาเอก 2.111111111111
2011111111
300111111
400066
A:รวม1122333939
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ0051111
ปริญญาเอก 2.2155555
205555
300555
400055
500005
A:รวม510152025
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00005

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   23872.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

3.1   ใช้ระยะเวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

3.2    ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตร ดังนี้

             3.2.1  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 25 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

             3.2.2  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทอื่นๆ  ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 13 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 49 หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

             3.2.3  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาโภชนศาสตร์ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

             3.2.4 สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และได้รับวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาวิชาโภชนศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากแพทยสภา หรือแพทยสภารับรอง ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

3.3  ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

3.4  ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

        3.5  ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

        3.6 ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

        3.7 ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย 1 ฉบับ

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
18/11/2019 07:48:403.45 MB