25260041100058_2109_IP:หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม (5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2562)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิจิตรศิลป์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   25/05/2562  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2562
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะวิจิตรศิลป์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2526  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม (5 ปี)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Bachelor of Fine Arts Program in Painting  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาตรี 5 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศิลปบัณฑิตBachelor of Fine Artsศล.บ.B.F.A.จิตรกรรม
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562 
โครงสร้างหลักสูตร 
  1.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต 
  1.2 โครงสร้างหลักสูตร 
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
- กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
- กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม

  30
12
ุ6
9
3
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ                                                             ไม่น้อยกว่า
- วิชาแกน
- วิชาเอก                                                             ไม่น้อยกว่า
   - เอกบังคับ
   - เอกเลือก   ไม่น้อยกว่า
- วิชาโท (ถ้ามี)   ไม่น้อยกว่า
114
30
69
60
9
15
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี   ไม่น้อยกว่า ุ6 หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาตรี 5 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ150

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25260041100058_2109_IP:หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม (5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2562)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิจิตรศิลป์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2562  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
23/04/2020 12:08:091.01 MB
CouncilApprove2666.pdf
23/04/2020 12:10:54317.73 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์Sebastien Tayacวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติ มาลีพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล นิลสกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พดุงศักดิ์ คชสำโรงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ค.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต เกษเกล้าวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์Jan Theo De Vleeschauwerวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: M.F.A. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์Montana Torreyวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์Rushdi anwarวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์Sebastien Tayacวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติ มาลีพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศศ.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์เกศ ชวนะลิขิกรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาตรี หลักสูตร: B.F.A. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัชวาล นิลสกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: M.F.A. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พดุงศักดิ์ คชสำโรงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ค.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มรกต เกษเกล้าวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: ศล.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สงกรานต์ สุดหอมวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อภิรักษ์ เจียรพินิจนันท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรบัณฑิต หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อัทร์ พุ่มแตงอ่อนวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25260041100058_2109_IP:หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม (5 ปี) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2562)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิจิตรศิลป์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
  ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 3.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 5.คุณลักษณะทั้งหมดเกิดขึ้นจากความเข้าใจ “สังคมและวัฒนธรรมไทย”
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
  ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 4. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5.ความรู้ทั้งหมดเกิดขึ้นได้จากการทำให้นักศึกษามีมุมมองที่แตกต่างและหลากหลาย
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 4. ทักษะทางปัญญาเกิดขึ้นได้จากการมองเห็นกระบวนการเชื่อมโยง “ความรู้”
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
  1.มีมนุษยสัมพันธ์ดี ช่วยเหลือ เสียสละ และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับสภาวการณ์ 2.การสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ทั้งในภาวะผู้นำ และผู้ตาม 3.การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4.ความสามารถทำงานได้ตามกำหนดเวลา
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
  1. สามารถใช้เทคนิคคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล 2.สามารถแปลความหมายข้อมูล สามารถแปลข้อมูลเป็นข่าวสารและบทสรุป 3. สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ทั้งปากเปล่า และการเขียน การเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
  ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริตมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2. มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
  ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหารวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 4. สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อ 5. มีความรู้ในทางด้านศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 6. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้นรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 4. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการได้
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ 1. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสมและเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 3. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม 2. สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือนำสถิติมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 6. ทักษะพิสัย
  ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยทางศิลปะ 1. มีทักษะในการปฏิบัติงานด้านศิลปะ ตามกรอบกระบวนวิชากำหนด 2. รู้จักและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ และห้องปฏิบัติงาน มีการดำเนินงานตามขั้นตอนและกระบวนการผลิตผลงาน ตลอดจนสามารถบริหารจัดการให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพในระยะเวลาที่กำหนด 3. มีการสำนึกในคุณค่าของศิลปะหรืองานสร้างสรรค์ที่สืบเนื่องจากการมีประสบการณ์ในการทำงานภาคปฏิบัติ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านทฤษฎีทางศิลปะ ให้เรียนรู้หลักการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ และความรู้ที่ประวัติศาสตร์ศิลปะ ตะวันตก 2. นักศึกษามีทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะปฏิบัติการในห้องปฏิบัติงาน เช่น จิตรกรรมหุ่นนิ่ง เป็นต้น 3. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและทักษะทางด้านภาษา คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 4. นักศึกษามีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ผ่านรูปแบบกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศิลปะและโครงการต่างๆ
21. นักศึกษามีความรู้ด้านทฤษฎีทางศิลปะที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ตะวันออก และศิลปะในศตวรรษที่ 20 เพิ่มขึ้น 2. นักศึกษามีทักษะพื้นฐานทางด้านศิลปะ 2 รูปแบบ ได้แก่ การเขียนภาพคนในห้องปฏิบัติการ และการเขียนภาพทิวทัศน์ ปฏิบัติการนอกสถานที่จริง 3. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและทักษะทางด้านการอ่านและการเขียนเชิงวิเคราะห์, การใช้ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ, ความรู้ทางด้านมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4. นักศึกษามีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ผ่านรูปแบบกิจกรรมและโครงการต่างๆ
31. นักศึกษาเรียนรู้ทางด้านทฤษฎีเชิงลึก 3 หลักการได้แก่ ด้านการวิเคราะห์ (การวิจัย) ด้านประวัติศาสตร์ (ศิลปะร่วมสมัย) และด้านปรัชญาศิลปะ (สุนทรียศาสตร์ศิลปะ) 2. นักศึกษามีทักษะการสร้างสรรค์ผลงานและการค้นคว้าเฉพาะตน โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้ดูแลกระบวนการสร้างสรรค์ทั้งหมด 3. นักศึกษาสามารถเสริมความรู้และทักษะเฉพาะทางที่หลากหลาย โดยเลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก ตามความสนใจของนักศึกษาได้ 4. นักศึกษาสามารถเลือกตามความสนใจของนักศึกษา ได้แก่กลุ่มวิชาเลือกเสรี, คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
41. นักศึกษาได้รับทักษะทางการวิจารณ์ศิลปะทั้งทักษะการพูดและทักษะการเขียน สามารถนำความรู้ทางทฤษฎี วิเคราะห์วิจารณ์งานศิลปะได้ 2. นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์กระบวนการทำงานร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา ในแนวทางและรูปแบบอิสระ พร้อมการนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ได้ 3. นักศึกษาสามารถเสริมความรู้และทักษะเฉพาะทางที่หลากหลาย โดยเลือกเรียนในกลุ่มวิชาเอกเลือก ตามความสนใจของนักศึกษาได้ 4. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านความรู้ทั่วไปเพิ่มขึ้น
51. นักศึกษามีการเรียบเรียงองค์ความรู้ทางศิลปะที่ศึกษาค้นคว้า แนวคิด รูปแบบ เพื่อนำมาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปนิพนธ์ รวมถึงการนำเสนอและเผยแพร่สู่สาธารณะ 2. นักศึกษามีความรู้ทางด้านการจัดการทางศิลปะ การพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นทางด้านศิลปะผ่านกระบวนวิชาสัมมนา อันเป็นการสรุปองค์ความรู้และทักษะทั้งหมดตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
2. มีเกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติม เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ว่าด้วยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ.2561 ข้อที่ 5 คุณสมบัติและเงื่อนไขการเข้าเป็นนักศึกษา

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
256225632564256525662567
 1303030303030
203030303030
30030303030
4000303030
500003030
A:รวม306090120150150
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00003030
ปริญญาตรี 5 ปี : ปริญญาตรีทางวิชาการ1303030303030
203030303030
30030303030
4000303030
500003030
A:รวม306090120150150
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00003030

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   30000.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
  1. ต้องเรียนกระบวนวิชาต่างๆ ให้ครบตามหลักสูตรและเงื่อนไขของสาขาวิชา และต้องไม่มีกระบวน วิชาใดที่ได้รับอักษรล าดับขั้น I หรือ P
2. มีค่าล าดับขั้นสะสมเฉลี่ยในวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 2.00 และมีค่าล าดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตรไม่ น้อยกว่า 2.00
3. ต้องใช้เวลาเรียนไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษา และไม่เกิน 20 ภาคการศึกษา
4. เงื่อนไขการส าเร็จการศึกษาเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญา ตรี และเกณฑ์ของสาขาวิชา
 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
.pdf
19/03/2021 09:29:02120.78 KB
มคอ2.pdf
08/03/2021 11:28:358.07 MB