25220061100089_2119_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2565)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   21/04/2564  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2565
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2528  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2559  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Clinical Psychology  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.จิตวิทยาคลินิก
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๒ ดังนี้ 
หมวดวิชาบังคับ ๒๕ หน่วยกิต 
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๓ หน่วยกิต 
วิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต 
รวมไม่น้อยกว่า ๔๐ หน่วยกิต 

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก240

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25220061100089_2119_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2565)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2565  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove2700.pdf
22/05/2021 15:56:50117.08 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์ณัชพล อ่วมประดิษฐ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ธนยศ สุมาลย์โรจน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สร้อยสุดา อิ่มอรุณรักษ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลเนตร วรรณเสวกวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลพร วรรณฤทธิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์กอบหทัย สิทธิรณฤทธิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฑิฆัมพร หอสิริวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ณัชพล อ่วมประดิษฐ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนยศ สุมาลย์โรจน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์เธียรชัย งามทิพย์วัฒนาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปเนต ผู้กฤตยาคามีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรภัทร รัตอาภาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศุภโชค สิงหกันต์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: MPE สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สร้อยสุดา อิ่มอรุณรักษ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิรินัดดา ปัญญาภาสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: อ.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์สุดสบาย จุลกทัพพะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์สุวิทย์ เจริญศักดิ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
 จำนวน ๙ สัปดาห์ ในปีที่ ๑ จำนวน ๓ หน่วยกิต 
 
       
     
   

25220061100089_2119_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2565)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ
 2เคารพในศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และหลักสิทธิมนุษยชน
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 1สามารถสืบค้นความรู้ทางจิตวิทยาที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันและติดตามความก้าวหน้าของศาสตร์ทางจิตวิทยาร่วมสมัย เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการความรู้ทางด้านจิตวิทยาคลินิก การประเมินทางจิตใจด้วยแบบทดสอบทางจิตวิทยาประเภทต่าง ๆ ในการวินิจฉัย อธิบายความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ การวางแผนช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ
 2สามารถอธิบายแนวคิดการบูรณาการความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข บำบัดรักษา ให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 1วิเคราะห์องค์ความรู้ทางจิตวิทยา ผลงานวิจัย ในการหาสาเหตุจิตพยาธิสภาพ เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมป้องกัน แก้ไขปัญหาร่วมสมัยได้อย่างเหมาะสม
 2สังเคราะห์เชิงบูรณาการความรู้ด้านจิตวิทยาคลินิก ในการแปลผลการทดสอบ เรียบเรียงข้อมูลเพื่อเขียนรายงานได้อย่างถูกต้องตามหลักสากล เพื่อช่วยในการอธิบายความเจ็บป่วยด้านจิตใจ วางแผนให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างเป็นระบบ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้
 2มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 1สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขได้
 2สามารถสื่อสารข้อมูลไปยังบุคคลอื่นได้
 3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น การสร้าง และการนำเสนอข้อมูลได้
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: ๑. ตรวจประเมินทางจิตวิทยาคลินิกได้ โดยประยุกต์และบูรณาการความรู้ ทฤษฎีที่สำคัญทางจิตวิทยา ประสาทจิตวิทยา จิตพยาธิสภาพ และการใช้แบบทดสอบทางจิตวิทยาคลินิก
  1 :ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ (1)
  2 :เคารพในศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และหลักสิทธิมนุษยชน(1)
  1 :สามารถสืบค้นความรู้ทางจิตวิทยาที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันและติดตามความก้าวหน้าของศาสตร์ทางจิตวิทยาร่วมสมัย เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการความรู้ทางด้านจิตวิทยาคลินิก การประเมินทางจิตใจด้วยแบบทดสอบทางจิตวิทยาประเภทต่าง ๆ ในการวินิจฉัย อธิบายความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ การวางแผนช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ(2)
  1 :วิเคราะห์องค์ความรู้ทางจิตวิทยา ผลงานวิจัย ในการหาสาเหตุจิตพยาธิสภาพ เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมป้องกัน แก้ไขปัญหาร่วมสมัยได้อย่างเหมาะสม(3)
  2 :สังเคราะห์เชิงบูรณาการความรู้ด้านจิตวิทยาคลินิก ในการแปลผลการทดสอบ เรียบเรียงข้อมูลเพื่อเขียนรายงานได้อย่างถูกต้องตามหลักสากล เพื่อช่วยในการอธิบายความเจ็บป่วยด้านจิตใจ วางแผนให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างเป็นระบบ(3)
  1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้(4)
  2 :มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น การสร้าง และการนำเสนอข้อมูลได้(5)
[Collapse]PLO: ๒. ประยุกต์ความรู้ขั้นสูงที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีทางจิตวิทยา จิตพยาธิสภาพ และจิตบำบัด เพื่อใช้ในการให้คำปรึกษา และการทำจิตบำบัด
  1 :ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ (1)
  2 :เคารพในศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และหลักสิทธิมนุษยชน(1)
  1 :สามารถสืบค้นความรู้ทางจิตวิทยาที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันและติดตามความก้าวหน้าของศาสตร์ทางจิตวิทยาร่วมสมัย เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการความรู้ทางด้านจิตวิทยาคลินิก การประเมินทางจิตใจด้วยแบบทดสอบทางจิตวิทยาประเภทต่าง ๆ ในการวินิจฉัย อธิบายความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ การวางแผนช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ(2)
  1 :วิเคราะห์องค์ความรู้ทางจิตวิทยา ผลงานวิจัย ในการหาสาเหตุจิตพยาธิสภาพ เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมป้องกัน แก้ไขปัญหาร่วมสมัยได้อย่างเหมาะสม(3)
  2 :สังเคราะห์เชิงบูรณาการความรู้ด้านจิตวิทยาคลินิก ในการแปลผลการทดสอบ เรียบเรียงข้อมูลเพื่อเขียนรายงานได้อย่างถูกต้องตามหลักสากล เพื่อช่วยในการอธิบายความเจ็บป่วยด้านจิตใจ วางแผนให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างเป็นระบบ(3)
  1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้(4)
  2 :มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น การสร้าง และการนำเสนอข้อมูลได้(5)
[Collapse]PLO: ๓. บูรณาการวิธีป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพจิตได้อย่างเหมาะสม
  1 :ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ (1)
  2 :เคารพในศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และหลักสิทธิมนุษยชน(1)
  1 :สามารถสืบค้นความรู้ทางจิตวิทยาที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันและติดตามความก้าวหน้าของศาสตร์ทางจิตวิทยาร่วมสมัย เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการความรู้ทางด้านจิตวิทยาคลินิก การประเมินทางจิตใจด้วยแบบทดสอบทางจิตวิทยาประเภทต่าง ๆ ในการวินิจฉัย อธิบายความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ การวางแผนช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ(2)
  2 :สามารถอธิบายแนวคิดการบูรณาการความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข บำบัดรักษา ให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน(2)
  1 :วิเคราะห์องค์ความรู้ทางจิตวิทยา ผลงานวิจัย ในการหาสาเหตุจิตพยาธิสภาพ เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมป้องกัน แก้ไขปัญหาร่วมสมัยได้อย่างเหมาะสม(3)
  1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้(4)
  2 :มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย(4)
  1 :สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขได้ (5)
  2 :สามารถสื่อสารข้อมูลไปยังบุคคลอื่นได้(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น การสร้าง และการนำเสนอข้อมูลได้(5)
[Collapse]PLO: ๔. ทำวิจัยทางจิตวิทยาได้อย่างเป็นสากลตามระเบียบวิธีวิจัยและจริยธรรมการวิจัย โดยการสังเคราะห์ความรู้ทางการวิจัย
  1 :ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ (1)
  2 :เคารพในศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และหลักสิทธิมนุษยชน(1)
  2 :สามารถอธิบายแนวคิดการบูรณาการความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข บำบัดรักษา ให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน(2)
  1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้(4)
  1 :สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขได้ (5)
  2 :สามารถสื่อสารข้อมูลไปยังบุคคลอื่นได้(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น การสร้าง และการนำเสนอข้อมูลได้(5)
[Collapse]PLO: ๕. วิเคราะห์และประเมินข้อมูลทางจิตวิทยาอย่างเป็นระบบ สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น สร้าง และนำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
  1 :ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ (1)
  1 :สามารถสืบค้นความรู้ทางจิตวิทยาที่สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันและติดตามความก้าวหน้าของศาสตร์ทางจิตวิทยาร่วมสมัย เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการความรู้ทางด้านจิตวิทยาคลินิก การประเมินทางจิตใจด้วยแบบทดสอบทางจิตวิทยาประเภทต่าง ๆ ในการวินิจฉัย อธิบายความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ การวางแผนช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ(2)
  2 :สามารถอธิบายแนวคิดการบูรณาการความรู้ทางจิตวิทยาคลินิก เพื่อการส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข บำบัดรักษา ให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน(2)
  1 :สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลขได้ (5)
  2 :สามารถสื่อสารข้อมูลไปยังบุคคลอื่นได้(5)
  3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น การสร้าง และการนำเสนอข้อมูลได้(5)
[Collapse]PLO: ๖. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ มีคุณธรรมทางวิชาการ และจริยธรรมทางวิชาชีพจิตวิทยาคลินิก รวมทั้งมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของมาตรฐานวิชาชีพ
  1 :ปฎิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ (1)
  2 :เคารพในศักดิ์ศรีและเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และหลักสิทธิมนุษยชน(1)
  1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและอยู่ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องได้(4)
  2 :มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย(4)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
12121212123
๑. ตรวจประเมินทางจิตวิทยาคลินิกได้ โดยประยุกต์และบูรณาการความรู้ ทฤษฎีที่สำคัญทางจิตวิทยา ประสาทจิตวิทยา จิตพยาธิสภาพ และการใช้แบบทดสอบทางจิตวิทยาคลินิก
๒. ประยุกต์ความรู้ขั้นสูงที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีทางจิตวิทยา จิตพยาธิสภาพ และจิตบำบัด เพื่อใช้ในการให้คำปรึกษา และการทำจิตบำบัด
๓. บูรณาการวิธีป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพจิตได้อย่างเหมาะสม
๔. ทำวิจัยทางจิตวิทยาได้อย่างเป็นสากลตามระเบียบวิธีวิจัยและจริยธรรมการวิจัย โดยการสังเคราะห์ความรู้ทางการวิจัย
๕. วิเคราะห์และประเมินข้อมูลทางจิตวิทยาอย่างเป็นระบบ สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น สร้าง และนำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
๖. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ มีคุณธรรมทางวิชาการ และจริยธรรมทางวิชาชีพจิตวิทยาคลินิก รวมทั้งมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของมาตรฐานวิชาชีพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1-การประเมินทางจิตวิทยาคลินิก โดยประยุกต์และบูรณาการความรู้ ทฤษฎีที่สำคัญทางจิตวิทยา ประสาทจิตวิทยา จิตพยาธิสภาพ และการใช้แบบทดสอบทางจิตวิทยาคลินิก -มีแนวทางการ พัฒนาหัวข้องานวิจัย ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยาคลินิก
2-กระบวนการช่วยเหลือทางด้านจิตวิทยาคลินิก จิตบำบัด การให้คำปรึกษา รวมทั้งวิธีป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพจิต -ทำวิจัยทางจิตวิทยาคลินิกอย่างเป็นสากลตามระเบียบวิธีวิจัยและจริยธรรมการวิจัย โดยการสังเคราะห์ความรู้ทางการวิจัย ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
  ๑. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาหรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษา ในระดับปริญญา ตรีเป็นอย่างต่ำ จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง โดยต้องสำเร็จการศึกษาใน สาขาวิชาจิตวิทยา หรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องโดยศึกษารายวิชาจิตวิทยามาแล้วอย่างน้อย ๙ หน่วยกิต 

๒. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐ หรือเทียบเท่า 

๓. ในกรณีที่ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า ๒.๕๐ จะต้องมีประสบการณ์การทำงานด้านจิตวิทยามาแล้วเป็นเวลาอย่างน้อย ๑ ปี โดยมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา หรือหลักฐานมาแสดง 

๔. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 

๕. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ ๒ ถึงข้อ ๔ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25652566256725682569
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   114640.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

๑. ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๒. ต้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตร คือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๘ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๔๐ หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

๓. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 

๔.ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๕. ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ 

๖. ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceedings) และตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

๗. ผ่านเกณฑ์การฝึกปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาจิตวิทยาคลินิกตามเกณฑ์ของคณะกรรมการวิชาชีพสาขาจิตวิทยาคลินิก สำนักสถานพยาบาลการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ จำนวนชั่วโมงการรับฟังการบรรยายไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของจำนวนชั่วโมงการบรรยายทั้งหมด จำนวนชั่วโมงการศึกษาดูงานเฉพาะทางไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของจำนวนชั่วโมงการศึกษาดูงานเฉพาะทางทั้งหมด คะแนนการฝึกปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาคลินิกจากสถาบันฝึกปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ และคะแนนคุณสมบัติเฉพาะวิชาชีพจิตวิทยาคลินิกไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ซึ่งหากนักศึกษาผ่านเกณฑ์การฝึกปฏิบัติงานดังกล่าวจะทำให้การประเมินผลการศึกษาในรายวิชา ศรจค ๖๔๕ การฝึกงานขั้นสูง ปรากฎสัญลักษณ์ “S” หรือ “CT” (กรณีนักศึกษาที่มีใบประกอบวิชาชีพจิตวิทยาคลินิกแล้วไม่เกิน ๕ ปี)

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล.pdf
22/05/2021 16:00:0122.24 MB
มคอ2.pdf
25/08/2021 22:17:242.33 MB