25190061100075_2100_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   21/06/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2560
   หลักสูตรสังกัดคณะ   สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2519  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Linguistics  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
ปริญญาโท แบบ ข
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตMaster Of Artsศศ.ม.M.A.ภาษาศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

 

 

แผน ก แบบ ก ๒

แผน ข

()

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน

ไม่นับหน่วยกิต

ไม่นับหน่วยกิต

(๒)

หมวดวิชาบังคับ 

๑๕  หน่วยกิต

๑๕  หน่วยกิต

(๓)

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า

  หน่วยกิต

๑๕  หน่วยกิต

(๔)

วิทยานิพนธ์

๑๒  หน่วยกิต

-

(๕)

สารนิพนธ์

-

  หน่วยกิต

 

รวมไม่น้อยกว่า

๓๖  หน่วยกิต

๓๖  หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236
ปริญญาโท แบบ ข36

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25190061100075_2100_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
26/04/2019 20:08:151.42 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัทมา พัฒน์พงษ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ยุทธพร นาคสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปัทมา พัฒน์พงษ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์มยุรี ถาวรพัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ยุทธพร นาคสุขวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริเพ็ญ อึ้งสิทธิพูนพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์สมทรง บุรุษพัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์สุจริตลักษณ์ ดีผดุงวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุมิตรา สุรรัตน์เดชาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์โสภนา ศรีจำปาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อิสระ ชูศรีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25190061100075_2100_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการและในการทำงาน
 1.2ริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาษาที่มีอยู่เพื่อการทบทวนและแก้ไข
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระสาขาวิชาภาษาศาสตร์
 2.2เชื่อมโยงความรู้ในวิชาภาษาศาสตร์กับความรู้เกี่ยวกับปัญหาสังคมที่สัมพันธ์กับภาษา
 2.3มีความรู้ในกระบวนการทำวิจัยในสาขาวิชาภาษาศาสตร์
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1ประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหา ตลอดจนพัฒนาแนวคิดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับภาษา
 3.2วิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านวิชาภาษาศาสตร์
 3.3ดำเนินโครงการวิจัยได้ด้วยตนเอง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1ตัดสินใจในการดำเนินงานได้ด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้
 4.2สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบในการดำเนินงาน
 4.3มีความเป็นผู้นำ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1คัดกรองข้อมูลทางสถิติและสารสนเทศเพื่อการศึกษาประเด็นปัญหาที่สำคัญ
 5.2สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1 วิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาษา และภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  1.1 :เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการและในการทำงาน(1)
  1.2 :ริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาษาที่มีอยู่เพื่อการทบทวนและแก้ไข(1)
  3.1 :ประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหา ตลอดจนพัฒนาแนวคิดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับภาษา(3)
  3.2 :วิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านวิชาภาษาศาสตร์(3)
  3.3 :ดำเนินโครงการวิจัยได้ด้วยตนเอง(3)
[Collapse]PLO: PLO2 ทำวิจัยทางด้านภาษาและภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยคำนึงถึงมาตรฐานจริยธรรม วิธีการทางสถิติและสารสนเทศ
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระสาขาวิชาภาษาศาสตร์(2)
  2.2 :เชื่อมโยงความรู้ในวิชาภาษาศาสตร์กับความรู้เกี่ยวกับปัญหาสังคมที่สัมพันธ์กับภาษา(2)
  2.3 :มีความรู้ในกระบวนการทำวิจัยในสาขาวิชาภาษาศาสตร์(2)
  3.1 :ประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหา ตลอดจนพัฒนาแนวคิดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับภาษา(3)
  3.2 :วิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านวิชาภาษาศาสตร์(3)
  3.3 :ดำเนินโครงการวิจัยได้ด้วยตนเอง(3)
[Collapse]PLO: PLO3 ประยุกต์องค์ความรู้ภาษาและภาษาศาสตร์กับการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม
  2.1 :มีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาสาระสาขาวิชาภาษาศาสตร์(2)
  2.2 :เชื่อมโยงความรู้ในวิชาภาษาศาสตร์กับความรู้เกี่ยวกับปัญหาสังคมที่สัมพันธ์กับภาษา(2)
  2.3 :มีความรู้ในกระบวนการทำวิจัยในสาขาวิชาภาษาศาสตร์(2)
  3.1 :ประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหา ตลอดจนพัฒนาแนวคิดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับภาษา(3)
  3.2 :วิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้านวิชาภาษาศาสตร์(3)
  3.3 :ดำเนินโครงการวิจัยได้ด้วยตนเอง(3)
  4.1 :ตัดสินใจในการดำเนินงานได้ด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้(4)
  4.2 :สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบในการดำเนินงาน(4)
  4.3 :มีความเป็นผู้นำ(4)
[Collapse]PLO: PLO4 สื่อสารผลงานวิชาการทั้งภาษาพูด และภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4.1 :ตัดสินใจในการดำเนินงานได้ด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้(4)
  4.2 :สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีความรับผิดชอบในการดำเนินงาน(4)
  4.3 :มีความเป็นผู้นำ(4)
[Collapse]PLO: PLO5 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีมนุษยสัมพันธ์ ความคิดสร้างสรรค์
  5.1 :คัดกรองข้อมูลทางสถิติและสารสนเทศเพื่อการศึกษาประเด็นปัญหาที่สำคัญ(5)
  5.2 :สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.22.12.22.33.13.23.34.14.24.35.15.2
PLO1 วิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาษา และภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
PLO2 ทำวิจัยทางด้านภาษาและภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยคำนึงถึงมาตรฐานจริยธรรม วิธีการทางสถิติและสารสนเทศ
PLO3 ประยุกต์องค์ความรู้ภาษาและภาษาศาสตร์กับการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม
PLO4 สื่อสารผลงานวิชาการทั้งภาษาพูด และภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PLO5 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีมนุษยสัมพันธ์ ความคิดสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาษา และภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถทำวิจัยทางด้านภาษาและภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยคำนึงถึงมาตรฐานจริยธรรม วิธีการทางสถิติและสารสนเทศ สามารถประยุกต์องค์ความรู้ภาษาและภาษาศาสตร์กับการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม สามารถประยุกต์องค์ความรู้ภาษาและภาษาศาสตร์กับการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม สื่อสารผลงานวิชาการทั้งภาษาพูด และภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีมนุษยสัมพันธ์ ความคิดสร้างสรรค์
2นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับภาษา และภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถทำวิจัยทางด้านภาษาและภาษาศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยคำนึงถึงมาตรฐานจริยธรรม วิธีการทางสถิติและสารสนเทศ สามารถประยุกต์องค์ความรู้ภาษาและภาษาศาสตร์กับการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม สามารถประยุกต์องค์ความรู้ภาษาและภาษาศาสตร์กับการศึกษา สังคมและวัฒนธรรม สื่อสารผลงานวิชาการทั้งภาษาพูด และภาษาเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีมนุษยสัมพันธ์ ความคิดสร้างสรรค์

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

แผน ก แบบ ก๒

(๑) เป็นผู้สำเร็จการศึกษา หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาศาสตร์จากสถาบันอุดมศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

(๒) มีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐

(๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๔) ผู้ที่มีความรู้ภาษาท้องถิ่น ภาษากลุ่มชาติพันธุ์ หรือภาษาประเทศเพื่อนบ้านภาษาใดภาษาหนึ่งจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ

(๕)  ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาได้ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

แผน ข

(๑)  เป็นผู้สำเร็จการศึกษา หรือคาดว่าจะสำเร็จการศึกษาก่อนวันเปิดภาคการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับภาษาศาสตร์จากสถาบันอุดมศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

       (๒) มีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐

       (๓) เป็นผู้มีประสบการณ์ทำงานในสาขาที่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาไม่น้อยกว่า ปี

       (๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

              (๕) ผู้ที่มีความรู้ภาษาท้องถิ่น ภาษากลุ่มชาติพันธุ์ หรือภาษาประเทศเพื่อนบ้านภาษาใดภาษาหนึ่งจะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ

(๖)  ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010
ปริญญาโท แบบ ข11010101010
2010101010
A:รวม1020202020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ010101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   138400.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

แผน ก แบบ ก ๒

(๑)   ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

()   ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร  ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

()   ต้องสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 

        (๔)   ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

()   ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้          

()   ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ (Proceedings) ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 

แผน ข

(๑)   ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

()   ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๐หน่วยกิต และทำสารนิพนธ์ ๖ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

()   ต้องสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 

()   ต้องสอบการสอบประมวลความรู้ผ่าน ตามข้อกำหนดของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

        (๕)  ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

()   ต้องเสนอสารนิพนธ์และสอบสารนิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

 (๗)  สารนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของสารนิพนธ์ต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล.pdf
01/09/2020 12:43:55291.8 KB
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร.pdf
01/09/2020 12:43:0953.51 KB
มคอ2.pdf
14/03/2019 13:38:311.06 MB