25190061100064_2102_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   20/12/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะศิลปศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2519  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Arts Program in Applied Linguistics (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
ปริญญาโท แบบ ข
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตMaster Of Artsศศ.ม.M.A.ภาษาศาสตร์ประยุกต์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง  เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก๒ และแผน ข ดังนี้

แผน ก แบบ ก ๒                แผน ข

                   (๑) หมวดวิชาบังคับ                                    ๑๘                               ๑๘     

                   (๒) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                                                        ๑๒     

(๓) วิทยานิพนธ์                                        ๑๒                                -

(๔) สารนิพนธ์                                            -                                                                      

รวมไม่น้อยกว่า                                      ๓๖                              ๓๖     

 


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236
ปริญญาโท แบบ ข36

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25190061100064_2102_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
28/04/2019 09:25:291.31 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กรศิริ บุญประกอบวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:North Carolina State University More Info...
 อาจารย์ฉันฐรัช หงษ์บุญไตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Queensland More Info...
 อาจารย์ณัฏฐพงศ์ จันทร์อยู่วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Pittsburgh More Info...
 รองศาสตราจารย์ทรงศรี สรณสถาพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Illinois State University More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กรศิริ บุญประกอบวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:North Carolina State University More Info...
 อาจารย์ฉันฐรัช หงษ์บุญไตรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Queensland More Info...
 อาจารย์ณัฏฐพงศ์ จันทร์อยู่วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Pittsburgh More Info...
 รองศาสตราจารย์ทรงศรี สรณสถาพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Illinois State University More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิวรรธน์ พันธัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Maryland College Park More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25190061100064_2102_IP:หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะศิลปศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1การแสดงออกให้เห็นถึงความมี คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ
 1.2เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร
 1.3เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฎีที่สําคัญเกี่ยวกับ การเรียนการสอนภาษา
 2.2รู้วิธีแก้ปัญหา รวมทั้งวิธีการนํา ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนภาษาไปใช้
 2.3สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1คิดอย่างมีเหตุผลและอย่างเป็น ระบบ
 3.2สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อ ใช้ในการแก้ไขปัญหา
 3.3สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะ กับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถ ทำงานกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมี ประสิทธิภาพ
 4.2มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
 4.3มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนําสถิติมาประยุกต์ในการทำงานเกี่ยวข้อง
 5.2สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอได้อย่างเหมาะสม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1 สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรมในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ ตลอดจนอภิปรายถึงนัยที่วรรณกรรมเหล่านั้นมีต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ
  3.1 :คิดอย่างมีเหตุผลและอย่างเป็น ระบบ(3)
  3.2 :สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อ ใช้ในการแก้ไขปัญหา(3)
  5.1 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนําสถิติมาประยุกต์ในการทำงานเกี่ยวข้อง(5)
  5.2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอได้อย่างเหมาะสม(5)
  3.3 :สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะ กับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(3)
[Collapse]PLO: PLO2 ระบุปัญหาพื้นฐานของการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้กรอบแนวคิดทางด้านทฤษฎีจากศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  2.1 :มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฎีที่สําคัญเกี่ยวกับ การเรียนการสอนภาษา(2)
  2.2 :รู้วิธีแก้ปัญหา รวมทั้งวิธีการนํา ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนภาษาไปใช้(2)
  2.3 :สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ(2)
  3.1 :คิดอย่างมีเหตุผลและอย่างเป็น ระบบ(3)
  3.2 :สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อ ใช้ในการแก้ไขปัญหา(3)
  3.3 :สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะ กับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(3)
[Collapse]PLO: PLO3 เสนอแนวทางการแก้ปัญหาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการทฤษฎีความรู้ที่เกี่ยวข้อง
  2.1 :มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฎีที่สําคัญเกี่ยวกับ การเรียนการสอนภาษา(2)
  2.2 :รู้วิธีแก้ปัญหา รวมทั้งวิธีการนํา ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนภาษาไปใช้(2)
  2.3 :สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ(2)
  3.1 :คิดอย่างมีเหตุผลและอย่างเป็น ระบบ(3)
  3.2 :สามารถสืบค้น รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อ ใช้ในการแก้ไขปัญหา(3)
  5.1 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนําสถิติมาประยุกต์ในการทำงานเกี่ยวข้อง(5)
  5.2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอได้อย่างเหมาะสม(5)
  3.3 :สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะ กับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม(3)
[Collapse]PLO: PLO4 ปฏิบัติงานเทคนิคต่างๆ ที่จำเป็นในการประกอบวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ เช่น การออกแบบบทเรียน การพัฒนาแบบทดสอบ การบริหารโครงการสอนภาษา ภายในกรอบของความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการเรียนรู้ การรับภาษา และการจัดการศึกษา
  2.1 :มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฎีที่สําคัญเกี่ยวกับ การเรียนการสอนภาษา(2)
  2.2 :รู้วิธีแก้ปัญหา รวมทั้งวิธีการนํา ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนภาษาไปใช้(2)
  2.3 :สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ(2)
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถ ทำงานกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมี ประสิทธิภาพ(4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม(4)
  4.3 :มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม(4)
[Collapse]PLO: PLO5 แสดงออกถึงทักษะที่จำเป็นสำหรับดำเนินการวิจัย เช่น วิเคราะห์ ระบุประเด็นการวิจัย การออกแบบงานวิจัย และการเลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
  5.1 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนําสถิติมาประยุกต์ในการทำงานเกี่ยวข้อง(5)
  5.2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอได้อย่างเหมาะสม(5)
[Collapse]PLO: PLO6 แสดงออกถึงทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในรูปแบบต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับ วิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ และการนำเสนอทางวิชาการ เช่น การนำเสนอบทเรียน การอภิปราย การเขียนบทความ
  2.1 :มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฎีที่สําคัญเกี่ยวกับ การเรียนการสอนภาษา(2)
  2.2 :รู้วิธีแก้ปัญหา รวมทั้งวิธีการนํา ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่ เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนภาษาไปใช้(2)
  2.3 :สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง วิชาการ และมีความรู้ในแนวกว้างของ สาขาวิชาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ(2)
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถ ทำงานกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมี ประสิทธิภาพ(4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม(4)
  4.3 :มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม(4)
[Collapse]PLO: PLO7 ระบุประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ การดำเนินงานวิจัย และแสดงออกถึงการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน โดยเข้าใจถึงผลกระทบจากประเด็นเหล่านั้น
  1.1 :การแสดงออกให้เห็นถึงความมี คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพ(1)
  1.2 :เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร(1)
  1.3 :เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์(1)
  5.1 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือนําสถิติมาประยุกต์ในการทำงานเกี่ยวข้อง(5)
  5.2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนําเสนอได้อย่างเหมาะสม(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.33.13.23.34.14.24.35.15.2
PLO1 สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรมในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ ตลอดจนอภิปรายถึงนัยที่วรรณกรรมเหล่านั้นมีต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ
PLO2 ระบุปัญหาพื้นฐานของการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้กรอบแนวคิดทางด้านทฤษฎีจากศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
PLO3 เสนอแนวทางการแก้ปัญหาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ โดยบูรณาการทฤษฎีความรู้ที่เกี่ยวข้อง
PLO4 ปฏิบัติงานเทคนิคต่างๆ ที่จำเป็นในการประกอบวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ เช่น การออกแบบบทเรียน การพัฒนาแบบทดสอบ การบริหารโครงการสอนภาษา ภายในกรอบของความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการเรียนรู้ การรับภาษา และการจัดการศึกษา
PLO5 แสดงออกถึงทักษะที่จำเป็นสำหรับดำเนินการวิจัย เช่น วิเคราะห์ ระบุประเด็นการวิจัย การออกแบบงานวิจัย และการเลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
PLO6 แสดงออกถึงทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในรูปแบบต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับ วิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ และการนำเสนอทางวิชาการ เช่น การนำเสนอบทเรียน การอภิปราย การเขียนบทความ
PLO7 ระบุประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ การดำเนินงานวิจัย และแสดงออกถึงการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน โดยเข้าใจถึงผลกระทบจากประเด็นเหล่านั้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11. สามารถและสังเคราะห์วรรณกรรมในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ ตลอดจนถึงอภิปรายถึงนัยที่วรรณกรรมเหล่านั้นมีต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ
12. ระบุปัญหาพื้นฐานของการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กรอบแนวคิดทางด้านทฤษฎีจากศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
13. ปฏิบัติงานเทคนิคต่าง ๆ ที่จำเป็นในการประกอบวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ
14. แสดงออกถึงทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในรูปแบบต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ
15. สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและผู้ปฏิบัติงาน
21. เสนอแนวทางการแก้ปัญหาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบโดยบูรณาการทฤษฎีความรู้ที่เกี่ยวข้อง
22. แสดงออกถึงทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการวิจัย เช่น วิเคราะห์ ระบุประเด็นการวิจัย การออกแบบงานวิจัยและการเลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล
23. ระบุประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการสอนภาษาต่างประเทศ การดำเนินการวิจัย และแสดงออกถึงการตัดสินใจ โดยเข้าใจถึงผลกระทบจากประเด็นเหล่านั้น

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

(๑)  สําเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง       

(๒)  ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐          

(๓)  มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

                         
(๔)  ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับ      การคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก212020202020
2020202020
A:รวม2040404040
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ020202020
ปริญญาโท แบบ ข12020202020
2020202020
A:รวม2040404040
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ020202020

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   90800.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
137215.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

แผน ก แบบ ก ๒

(๑) ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

(๒) ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตร คือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า๒๔ หน่วยกิตและทําวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจํานวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า  ๓๖ หน่วยกิต  โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

(๓) ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๔) ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

(๕) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

(๖) ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงาน          การประชุมวิชาการ (Proceedings) ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย 

แผน ข

(๑) ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

(๒) ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตร คือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิตและสารนิพนธ์  ๖ หน่วยกิต รวมจํานวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต  โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

(๓) ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๔) ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

(๕) ต้องสอบผ่านการสอบประมวลความรู้  ตามข้อกำหนดของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 

(๖) ต้องเสนอสารนิพนธ์และสอบสารนิพนธ์ผ่านตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

(๗) สารนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของสารนิพนธ์ต้องได้รับการเผยแพร่ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สืบค้นได้

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
24/09/2020 09:51:051.15 MB