25190061100042_2131_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   16/05/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2519  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2554  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Communication Disorders  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.ความผิดปกติของการสื่อความหมาย
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     มี
ชื่อวิชาเอก 
แก้ไขการพูด
แก้ไขการได้ยิน
 
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๒ ดังนี้
หมวดวิชาแกน                       ๘ หน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ                   ๑๒ หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า     ๔ หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์                         ๑๒ หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า                     ๓๖ หน่วยกิต
รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25190061100042_2131_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
13/01/2020 17:02:14764.18 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์กฤษณา เลิศสุขประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยาณี มกราภิรมย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์จันทร์ชัย เจรียงประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. (โสต ศอ นาสิกวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์กฤษณา เลิศสุขประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยาณี มกราภิรมย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์จันทร์ชัย เจรียงประเสริฐวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. (โสต ศอ นาสิกวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25190061100042_2131_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
 1.2จัดการกับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการสื่อความหมาย ตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
 1.3มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่ลอกหรือนำข้อมูลความรู้ ความคิดของผู้อื่นมาเป็นของตน
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1อธิบาย อภิปรายเนื้อหา และผลกระทบที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมายและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
 2.2ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในเชิงลึกของสาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมายและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
 2.3รวบรวม เรียบเรียง สรุปข้อความรู้ด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายและวิชาที่เกี่ยวข้องได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1ใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหาทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของการสื่อความหมายและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ อย่างทันสมัย
 3.2นำความรู้ด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายมานำเสนอในประเด็นที่เหมาะสม และริเริ่มประเด็นในการแก้ไขปัญหาด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย
 3.3ใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้ด้วยแนวคิดใหม่
 3.4วิเคราะห์ สังเคราะห์ รวบรวมด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายด้วยกระบวน การวิจัยได้ด้วยตนเอง
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ
 4.2แสดงความเป็นผู้นำหรือผู้ร่วมทีมที่ดี มีน้ำใจรับผิดชอบส่วนรวมและส่วนตนได้
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวเลขทางคณิตศาสตร์สถิติทางด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย
 5.2สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
[Collapse]หัวข้อ: 6.ทักษะพิสัย
 6.1ซักประวัติผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม
 6.2ตรวจประเมินและทดสอบด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายได้อย่างเหมาะสม
 6.3แก้ไขฟื้นฟูความผิดปกติด้านการสื่อความหมายและให้คำปรึกษาแนะนำด้านการแก้ไขการได้ยินและการพูดแก่ผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนในขอบเขตความสามารถในวิชาชีพ
 6.4การส่งต่อผู้ป่วย
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1บูรณาการความรู้ด้านการพูดและการได้ยินในการปฏิบัติงานทางคลินิกในการแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมายทุกประเภทอย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
  1.1 :มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ(1)
  1.2 :จัดการกับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการสื่อความหมาย ตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ(1)
  1.3 :มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการ ไม่ลอกหรือนำข้อมูลความรู้ ความคิดของผู้อื่นมาเป็นของตน (1)
[Collapse]PLO: 2บูรณาการเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ประเมินและแก้ไขด้านการพูดและ การได้ยิน
  2.1 :อธิบาย อภิปรายเนื้อหา และผลกระทบที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมายและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(2)
  2.2 :ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และมีความรู้ในเชิงลึกของสาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมายและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง (2)
  2.3 :รวบรวม เรียบเรียง สรุปข้อความรู้ด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายและวิชาที่เกี่ยวข้องได้(2)
[Collapse]PLO: 3พัฒนาการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ปัญหาด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย ได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  3.1 :ใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการจัดการปัญหาทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของการสื่อความหมายและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ อย่างทันสมัย(3)
  3.2 :นำความรู้ด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายมานำเสนอในประเด็นที่เหมาะสม และริเริ่มประเด็นในการแก้ไขปัญหาด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย(3)
  3.3 :ใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้ด้วยแนวคิดใหม่(3)
  3.4 :วิเคราะห์ สังเคราะห์ รวบรวมด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายด้วยกระบวน การวิจัยได้ด้วยตนเอง(3)
[Collapse]PLO: 4ทำงานเป็นผู้นำหรือเป็นผู้ร่วมทีมที่ดีเพื่อส่งเสริมและป้องกันความผิดปกติของการพูดหรือ การได้ยินในชุมชน
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ(4)
  4.2 :แสดงความเป็นผู้นำหรือผู้ร่วมทีมที่ดี มีน้ำใจรับผิดชอบส่วนรวมและส่วนตนได้ (4)
[Collapse]PLO: 5ศึกษาค้นคว้างานวิจัยและสามารถออกแบบและทำงานวิจัยได้
  5.1 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวเลขทางคณิตศาสตร์สถิติทางด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย(5)
  5.2 :สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(5)
[Collapse]PLO: 6ปฏิบัติงานแก้ไขการพูดและ/หรือการได้ยินในระดับมาตรฐานสากลด้วยตนเอง
  6.1 :ซักประวัติผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม(5875)
  6.2 :ตรวจประเมินและทดสอบด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายได้อย่างเหมาะสม(5875)
  6.3 :แก้ไขฟื้นฟูความผิดปกติด้านการสื่อความหมายและให้คำปรึกษาแนะนำด้านการแก้ไขการได้ยินและการพูดแก่ผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนในขอบเขตความสามารถในวิชาชีพ(5875)
  6.4 :การส่งต่อผู้ป่วย(5875)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5[Collapse]6
1.11.21.32.12.22.33.13.23.33.44.14.25.15.26.16.26.36.4
1บูรณาการความรู้ด้านการพูดและการได้ยินในการปฏิบัติงานทางคลินิกในการแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมายทุกประเภทอย่างมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
2บูรณาการเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ประเมินและแก้ไขด้านการพูดและ การได้ยิน
3พัฒนาการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ปัญหาด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย ได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
4ทำงานเป็นผู้นำหรือเป็นผู้ร่วมทีมที่ดีเพื่อส่งเสริมและป้องกันความผิดปกติของการพูดหรือ การได้ยินในชุมชน
5ศึกษาค้นคว้างานวิจัยและสามารถออกแบบและทำงานวิจัยได้
6ปฏิบัติงานแก้ไขการพูดและ/หรือการได้ยินในระดับมาตรฐานสากลด้วยตนเอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยซื่อสัตย์และตรงต่อเวลา จัดการกับปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการสื่อความหมาย ตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาด้านความผิดปกติของการสื่อควสามหมายตรงตามมาตรฐานวิชาชีพและมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น วิเคราะห์ข้อมูล ตัวเลขทางคณิตศาสตร์ และเลือกใช้รูปแบบของสื่อนำเสนอได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2สามารถพัฒนาการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์ ผลิตงานผลวิจัยและมีทักษะการแก้ปัญหาด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย สามารถปฏิบัติงานร่วมกับสหวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีสามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผ้นำหรือเป็นผู้ร่วมทีมที่ดีมีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย ปฏิบัติงานแก้ไขการพูดและ/หรือการได้ยินในระดับมาฐานสากลได้ด้วยตนเอง

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

  1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย ได้แก่ สาขาแก้ไขการได้ยิน สาขาแก้ไขการพูด จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
  2. ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2.50
  3. มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย
  4. ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวนี้อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาได้ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก2150505
205050
A:รวม55555
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ05050

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   30790.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

แผน ก แบบ ก 2

1.ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

2.ต้องศึกษารายวิชาต่างๆตามโครงสร้างของหลักสูตร คือ ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิตรวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

3.ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

4.ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย                                                                                                     

5.ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

6.ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการหรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม วิชาการ (Proceedings) ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
18/07/2020 21:07:0916.9 MB
มติที่ประชุม.pdf
06/03/2019 15:53:34284.83 KB
รายงานการประชุม.pdf
06/03/2019 15:53:1196.97 KB