25150061100071_2108_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   18/04/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2515  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2556  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Medical Physics  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.ฟิสิกส์การแพทย์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.. ๒๕๕๘  หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๒  ดังนี้

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน                                    ไม่นับหน่วยกิต

หมวดวิชาแกน                                                 ๑๑           หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ                                              ๑๒          หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                                        หน่วยกิต

วิทยานิพนธ์                                                      ๑๒          หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า                                                 ๓๘          หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก238

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับเฉพาะนักศึกษาไทย  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25150061100071_2108_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
18/02/2020 12:01:13146.93 KB
CouncilApprove2668.pdf
18/02/2020 11:35:39773.04 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กฤศณัฏฐ์ เชื่อมสามัคคีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:King's college London United Kingdom More Info...
 อาจารย์พุทธิพรณ์ เจริญพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:School of Medicine, King’s College London, United Kingdom More Info...
 อาจารย์วิทยา สังขรัตน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Southern California, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวนีย์ อัศวผาติบุญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กฤศณัฏฐ์ เชื่อมสามัคคีวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:King's college London United Kingdom More Info...
 รองศาสตราจารย์ชนิกา ศรีธราวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 รองศาสตราจารย์ธิติ สว่างศิลป์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นภาพงษ์ พงษ์นภางค์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Texas, U.S.A. More Info...
 รองศาสตราจารย์พุฒิพรรณ พัวทวีพงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 อาจารย์พุทธิพรณ์ เจริญพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:School of Medicine, King’s College London, United Kingdom More Info...
 รองศาสตราจารย์มัณฑนา ธนะไชยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: ว.ว. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:แพทยสภา More Info...
 อาจารย์วิทยา สังขรัตน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Southern California, U.S.A. More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวนีย์ อัศวผาติบุญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วศ.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
8 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา
 
       
     
   

25150061100071_2108_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการในการค้นคว้า รวบรวมและการนำเสนอข้อมูล
 1.2ปฏิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ โดยยึดหลักถึงความปลอดภัยการใช้รังสีทางการแพทย์ทั้งต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และตนเอง
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับสาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์
 2.2มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการสืบค้นข้อมูล รวบรวม เรียบเรียงและนำเสนอด้วยกระบวนการที่เหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1สามารถวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับฟิสิกส์การแพทย์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปอย่างเป็นระบบ
 3.2สามารถค้นหา รวบรวม ประเมินข้อมูลและนำเสนอองค์ความรู้ในสาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์ ได้อย่างมีระบบ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีทักษะความเป็นผู้นำ และสามารถทำงานเป็นทีม
 4.2มีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา วิจัยและนำเสนอข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5.2สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับกลุ่มบุคคล
[Collapse]หัวข้อ: 6. ด้านทักษะการฝึกปฏิบัติ
 6.1มีทักษะเพื่อการปฏิบัติงานทางฟิสิกส์การแพทย์ทั้งงานมาตรฐานและซับซ้อนด้านคลินิกและแสดงออกซึ่งจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยยึดหลักถึงความปลอดภัยการใช้รังสีทางการแพทย์และมีมนุษยสัมพันธ์อันดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเลือกวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งจาก ๓ วิชาเอก คือ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย และ เวชศาสตร์นิวเคลียร์
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1มีคุณธรรม จริยธรรมตามมาตรฐานจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพฟิสิกส์การแพทย์ ในการทำงานวิจัยและการปฎิบัติงาน
  1.1 :มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการในการค้นคว้า รวบรวมและการนำเสนอข้อมูล(1)
  1.2 :ปฏิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ โดยยึดหลักถึงความปลอดภัยการใช้รังสีทางการแพทย์ทั้งต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และตนเอง(1)
[Collapse]PLO: 2มีความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารจัดการเชิงคุณภาพและปริมาณรังสีจากสารกัมมันตรังสีและเครื่องมือทางรังสีวิทยา ตามวิธีหรือแนวทางปฏิบัติในระดับสากล รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงการป้องกันอันตรายทางรังสีและความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้มาตรฐานสากล สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคในการประมวลผลภาพและระบบสารสนเทศทางการแพทย์
  2.1 :มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับสาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์(2)
  2.2 :มีความรู้เกี่ยวกับวิธีการสืบค้นข้อมูล รวบรวม เรียบเรียงและนำเสนอด้วยกระบวนการที่เหมาะสม (2)
[Collapse]PLO: 3สามารถคิด วิเคราะห์ ผลิตงานผลวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาด้านฟิสิกส์การแพทย์
  3.1 :สามารถวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับฟิสิกส์การแพทย์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปอย่างเป็นระบบ(3)
  3.2 :สามารถค้นหา รวบรวม ประเมินข้อมูลและนำเสนอองค์ความรู้ในสาขาวิชาฟิสิกส์การแพทย์ ได้อย่างมีระบบ(3)
[Collapse]PLO: 4สามารถปฏิบัติงานร่วมกับสหวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  4.1 :มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีทักษะความเป็นผู้นำ และสามารถทำงานเป็นทีม(4)
  4.2 :มีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย (4)
[Collapse]PLO: 5มีทักษะในการนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาอย่างเหมาะสม และการแสดงออกถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตในวิชาชีพฟิสิกส์การแพทย์
  5.1 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา วิจัยและนำเสนอข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
  5.2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับกลุ่มบุคคล(5)
[Collapse]PLO: 6มีทักษะด้านฟิสิกส์การแพทย์ระดับพื้นฐานในการปฏิบัติงานทางคลินิก และสามารถปฏิบัติงานระดับซับซ้อนในวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งจาก ๓ วิชาเอก ได้แก่ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย หรือ เวชศาสตร์นิวเคลียร์
  6.1 :มีทักษะเพื่อการปฏิบัติงานทางฟิสิกส์การแพทย์ทั้งงานมาตรฐานและซับซ้อนด้านคลินิกและแสดงออกซึ่งจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยยึดหลักถึงความปลอดภัยการใช้รังสีทางการแพทย์และมีมนุษยสัมพันธ์อันดีกับผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเลือกวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งจาก ๓ วิชาเอก คือ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย และ เวชศาสตร์นิวเคลียร์(5923)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5[Collapse]6
1.11.22.12.23.13.24.14.25.15.26.1
1มีคุณธรรม จริยธรรมตามมาตรฐานจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพฟิสิกส์การแพทย์ ในการทำงานวิจัยและการปฎิบัติงาน
2มีความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารจัดการเชิงคุณภาพและปริมาณรังสีจากสารกัมมันตรังสีและเครื่องมือทางรังสีวิทยา ตามวิธีหรือแนวทางปฏิบัติในระดับสากล รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงการป้องกันอันตรายทางรังสีและความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้มาตรฐานสากล สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคในการประมวลผลภาพและระบบสารสนเทศทางการแพทย์
3สามารถคิด วิเคราะห์ ผลิตงานผลวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาด้านฟิสิกส์การแพทย์
4สามารถปฏิบัติงานร่วมกับสหวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5มีทักษะในการนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาอย่างเหมาะสม และการแสดงออกถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตในวิชาชีพฟิสิกส์การแพทย์
6มีทักษะด้านฟิสิกส์การแพทย์ระดับพื้นฐานในการปฏิบัติงานทางคลินิก และสามารถปฏิบัติงานระดับซับซ้อนในวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งจาก ๓ วิชาเอก ได้แก่ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย หรือ เวชศาสตร์นิวเคลียร์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1มีคุณธรรม จริยธรรมตามมาตรฐานจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพฟิสิกส์การแพทย์ ในการทำงานวิจัยและการปฎิบัติงาน มีความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารจัดการเชิงคุณภาพและปริมาณรังสีจากสารกัมมันตรังสีและเครื่องมือทางรังสีวิทยา ตามวิธีหรือแนวทางปฏิบัติในระดับสากล รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงการป้องกันอันตรายทางรังสีและความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้มาตรฐานสากล สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคในการประมวลผลภาพและระบบสารสนเทศทางการแพทย์ มีทักษะในการนำเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาอย่างเหมาะสม และการแสดงออกถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตในวิชาชีพฟิสิกส์การแพทย์
2สามารถคิด วิเคราะห์ ผลิตงานผลวิจัย เพื่อแก้ไขปัญหาด้านฟิสิกส์การแพทย์ สามารถปฏิบัติงานร่วมกับสหวิชาชีพ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย มีทักษะด้านฟิสิกส์การแพทย์ระดับพื้นฐานในการปฏิบัติงานทางคลินิก และสามารถปฏิบัติงานระดับซับซ้อนในวิชาเอกใดวิชาเอกหนึ่งจาก ๓ วิชาเอก ได้แก่ รังสีรักษา รังสีวินิจฉัย หรือ เวชศาสตร์นิวเคลียร์

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

                       1.  สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี  ด้านวิทยาศาสตร์ทุกสาขา

                       2   ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐

               3.  มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล กำหนด

                        4.   ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้สมัครเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาโท แบบ ก2188888
208888
A:รวม816161616
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ08888

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   54458.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

1.ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

2.ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ตามโครงสร้างของหลักสูตร คือศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 26 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 38 หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า 3.00

3.ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

4.ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

5.ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้งและการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

6.ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยไได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (Proceeding) ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
11/06/2020 14:39:192.59 MB