25140061100068_2106_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   21/06/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2560
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะวิทยาศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2514  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Pharmacology (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.2
ปริญญาเอก 1.1
ปริญญาเอก 2.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.เภสัชวิทยา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๑.๑

วิทยานิพนธ์                ๔๘      หน่วยกิต

และเรียนรายวิชา ตามคําแนะนําของกรรมการบริหารหลักสูตรเพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิต

 

แบบ ๒.๑

(๑) หมวดวิชาบังคับ                        หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า           หน่วยกิต

(๓) วิทยานิพนธ์                     ๓๖      หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า                     ๔๘      หน่วยกิต

แบบ ๒.๒

(๑) หมวดวิชาบังคับ                ๑๘      หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า          หน่วยกิต

(๓) วิทยานิพนธ์                     ๔๘      หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า                     ๗๒      หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.272
ปริญญาเอก 1.148
ปริญญาเอก 2.148

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25140061100068_2106_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2560  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
23/04/2019 16:05:061.42 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์ณัฎฐิณี จันทรรัตโนทัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ดาราวรรณ ปิ่นทองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Pharmacology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University Nottingham More Info...
 รองศาสตราจารย์นพวรรณ ภู่มาลา มอราเลสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 อาจารย์กรานต์ สุขนันทร์ธะวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Pathology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Wisconsin-Madison More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฏฐิณี จันทรรัตโนทัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (เภสัชวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์ณัฐวุธ สิบหมู่วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: วท.ด. (เภสัชวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์ดาราวรรณ ปิ่นทองวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Pharmacology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University Nottingham More Info...
 รองศาสตราจารย์นพวรรณ ภู่มาลา มอราเลสวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Pharmaceutical Science) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kyushu University More Info...
 อาจารย์พรทิพา กอประเสริฐถาวรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (เภสัชวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพรรณ วิวิธนาภรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Pharmacology) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Texas Medical Branch More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรินกาญจน์ เหมสถาปัตย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Pharmacy) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Queensland More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   ไม่มี
 
       
     
   

25140061100068_2106_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์มีวินัย ตรงต่อเวลา
 1.2มีจรรยาบรรณการวิจัย ไม่คัดลอกหรือนำงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
 1.3เสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 1.4เคารพและปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กรและสังคม
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องลึกซึ้งในสาระหลักของสาขาวิชาเภสัชวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
 2.2อธิบายหลักการและทฤษฎีทางเภสัชวิทยา ได้ถูกต้องชัดเจน
 2.3มีความรู้ทางเภสัชวิทยาที่พร้อมจะประยุกต์ใน กระบวนการวิจัย และในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
 2.4สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และสามารถสืบเสาะหาความรู้ด้านเภสัชวิทยาเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1ประยุกต์ความรู้อย่างถูกต้อง เหมาะสม สามารถวิเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้และแก้ปัญหาได้อย่างเป็นองค์รวม
 3.2สามารถสังเคราะห์พัฒนาแนวคิดองค์ความรู้ใหม่หรือสร้างผลงานที่เป็นนวัตกรรมในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ
 3.3สามารถบูรณาการความรู้ที่หลากหลายข้ามศาสตร์ พัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่สร้างสรรค์ และมีผลงานที่เป็นนวัตกรรมในระดับนานาชาติ
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและทำงานเป็นทีม และทำงานเป็นกลุ่มได้
 4.2สามารถเป็นหัวหน้า กลุ่มและการจัดการข้อโต้แย้งได้ และสร้างเครือข่ายการปฏิบัติงานได้
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถวิเคราะห์ คำนวณและใช้วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมในงานวิจัย
 5.2สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง การฟัง การพูด และการเขียน และสามารถนำเสนอความรู้ และผลงานวิจัยในเวทีวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ
 5.3สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อสื่อสารติดตามข้อมูลความเป็นไปและความก้าวหน้าทางวิชาการ
 5.4วิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และสถิติอย่างถูกต้อง
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: ซื่อสัตย์มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและรับผิดชอบต่อสังคม
  1.1 :มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์มีวินัย ตรงต่อเวลา(1)
  1.2 :มีจรรยาบรรณการวิจัย ไม่คัดลอกหรือนำงานของผู้อื่นมาเป็นของตน(1)
  1.3 :เสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น(1)
[Collapse]PLO: ทำวิจัยทางเภสัชวิทยา ประยุกต์ และบูรณาการองค์ความรู้ทางเภสัชวิทยา ให้เกิดประโยชน์ได้ด้วยตนเอง นำเสนอผลงานวิจัย และตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
  3.1 :ประยุกต์ความรู้อย่างถูกต้อง เหมาะสม สามารถวิเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้และแก้ปัญหาได้อย่างเป็นองค์รวม(3)
  3.2 :สามารถสังเคราะห์พัฒนาแนวคิดองค์ความรู้ใหม่หรือสร้างผลงานที่เป็นนวัตกรรมในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(3)
  3.3 :สามารถบูรณาการความรู้ที่หลากหลายข้ามศาสตร์ พัฒนาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่สร้างสรรค์ และมีผลงานที่เป็นนวัตกรรมในระดับนานาชาติ(3)
[Collapse]PLO: มีมนุษยสัมพันธ์ ทำงานเป็นทีม และรู้หน้าที่ความรับผิดชอบในการทำงานและการอยู่ร่วมในสังคม
  4.1 :มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและทำงานเป็นทีม และทำงานเป็นกลุ่มได้(4)
  4.2 :สามารถเป็นหัวหน้า กลุ่มและการจัดการข้อโต้แย้งได้ และสร้างเครือข่ายการปฏิบัติงานได้(4)
[Collapse]PLO: วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ใช้ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
  5.1 :สามารถวิเคราะห์ คำนวณและใช้วิธีการทางสถิติที่เหมาะสมในงานวิจัย(5)
  5.2 :สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง การฟัง การพูด และการเขียน และสามารถนำเสนอความรู้ และผลงานวิจัยในเวทีวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ(5)
  5.3 :สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อสื่อสารติดตามข้อมูลความเป็นไปและความก้าวหน้าทางวิชาการ(5)
  5.4 :วิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และสถิติอย่างถูกต้อง(5)
[Collapse]PLO: อภิปรายทฤษฎีและทักษะเชิงวิชาการทางเภสัชวิทยา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
  2.1 :มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องลึกซึ้งในสาระหลักของสาขาวิชาเภสัชวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(2)
  2.2 :อธิบายหลักการและทฤษฎีทางเภสัชวิทยา ได้ถูกต้องชัดเจน(2)
  2.3 :มีความรู้ทางเภสัชวิทยาที่พร้อมจะประยุกต์ใน กระบวนการวิจัย และในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง(2)
  2.4 :สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และสามารถสืบเสาะหาความรู้ด้านเภสัชวิทยาเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง(2)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.32.12.22.32.43.13.23.34.14.25.15.25.35.4
ซื่อสัตย์มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและรับผิดชอบต่อสังคม
ทำวิจัยทางเภสัชวิทยา ประยุกต์ และบูรณาการองค์ความรู้ทางเภสัชวิทยา ให้เกิดประโยชน์ได้ด้วยตนเอง นำเสนอผลงานวิจัย และตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
มีมนุษยสัมพันธ์ ทำงานเป็นทีม และรู้หน้าที่ความรับผิดชอบในการทำงานและการอยู่ร่วมในสังคม
วิเคราะห์ข้อมูล และใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ใช้ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
อภิปรายทฤษฎีและทักษะเชิงวิชาการทางเภสัชวิทยา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1อภิปรายทฤษฎีและทักษะเชิงวิชาการทางเภสัชวิทยา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2ประยุกต์ใช้ความรู้ทางเภสัชวิทยา และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในการสร้างโจทย์วิจัย และปฏิบัติงานวิจัย
3วิเคราะห์ข้อมูล และสังเคราะห์ความรู้ใหม่ได้ด้วยต้นเองโดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสต์และสถิติได้อย่างเหมาะสม
3อภิปราย นำเสนอผลงานจากงานวิจัยของตนเอง ในงานประชุมวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ และมีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

๑ ผู้สมัครเข้าศึกษา แบบ ๑.๑

(๑) สําเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา หรือสาขาวิชาด้าน วิทยาศาสตร์ชีวภาพ จากสถาบันที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

(๒) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือเทียบเท่า

(๓) มีประสบการณ์การทํางานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยดัานเภสัชวิทยาหรือวิทยาศาสตร์ การแพทย์ไม่น้อยกว่า ๒ ปี

(๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๕) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการ พิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 

๒ ผู้สมครเข้าศึกษา แบบ ๒.๑

(๑) สําเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา จากสถาบันที่สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง หรือ

(๒) สําเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือ สาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง หรือ

(๓) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือเทียบเท่า

(๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๕) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการ พิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 

๓ ผู้สมัครเข้าศึกษา แบบ ๒.๒

(๑) สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีของหลักสูตรสาขาวิทยาศาสตร์ได้แก่สาขาวิชา เคมี ชีวเคมีชีววิทยา เทคโนโลยีชีวภาพ พยาบาลศาสตร์เทคนิคการแพทย์และสาธารณสุขศาสตร์หรือ สาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันอุดมศึกษาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

(๒) สําเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต จากสถาบันที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

(๓) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือเทียบเท่า

(๔) มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๕) ผู้สมัครเข้าศึกษาที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อาจได้รับการ พิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาเอก 1.1111111
201111
300111
A:รวม12333
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00111
ปริญญาเอก 2.1122222
202222
300222
A:รวม24666
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00222
ปริญญาเอก 2.2122222
202222
300222
400022
A:รวม24688
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00022

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   117550.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

๓.๑ แบบ ๑.๑

(๑) ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

(๒) ต้องศึกษารายวิชาตามโครงสร้างที่หลักสูตรกำหนดไว้โดยไม่นับหน่วยกิต และทําวิทยานิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต รวมจํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๔๘ หน่วยกิต

(๓) ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๔) ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

(๕) ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทํางานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๖) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่าน โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

(๗) ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย ๒ ฉบับ โดยต้องเป็นผู้นิพนธ์ลําดับแรก

๓.๒ แบบ ๒.๑

(๑) ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

(๒) ต้องศึกษารายวิชาต่างๆตามโครงสร้างของหลักสูตรคือศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิตและทําวิทยานิพนธ์๓๖ หน่วยกิตรวมจํานวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔๘ หน่วยกิต โดยต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

(๓) ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๔) ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

(๕) ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทํางานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๖) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่าน โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

(๗) ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย ๑ ฉบับ โดยต้องเป็นผู้นิพนธ์ลําดับแรก

๓.๓ แบบ ๒.๒

(๑) ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

(๒) ต้องศึกษารายวิชาต่างๆตามโครงสร้างของหลักสูตรคือศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิตและทำวิทยานิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิตรวมจํานวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต โดยต้องได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

(๓) ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๔) ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

(๕) ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทํางานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

(๖) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

(๗) ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย อย่างน้อย ๑ ฉบับ โดยต้องเป็นผู้นิพนธ์ลําดับแรก

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล.pdf
06/11/2020 09:29:07291.8 KB
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร.pdf
06/11/2020 09:28:21242.21 KB
มคอ2.pdf
15/06/2021 19:15:491.13 MB