25130061100045_2094_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   18/04/2561  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะวิทยาศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2513  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Microbiology and Immunology (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.1
ปริญญาเอก 2.2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร
                      (๑)  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

                                  หมวดวิชาบังคับ                             ๑๙    หน่วยกิต

                                  หมวดวิชาเลือก  ไม่น้อยกว่า                     หน่วยกิต

                        วิทยานิพนธ์                                  ๔๘    หน่วยกิต

                        รวมไม่น้อยกว่า                            ๗๒    หน่วยกิต    

 

                     (๒)  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน หรือสาขาที่เกี่ยวข้องผ่านการพิจารณาโดยกรรมการหลักสูตร

                                  หมวดวิชาบังคับ                                  หน่วยกิต

                                  หมวดวิชาเลือก  ไม่น้อยกว่า                   หน่วยกิต

                                  วิทยานิพนธ์                               ๓๖     หน่วยกิต

                             รวมไม่น้อยกว่า                   ๔๘      หน่วยกิต     


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.148
ปริญญาเอก 2.272

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25130061100045_2094_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
13/01/2020 14:48:11773.04 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ศาสตราจารย์พงศ์ศักดิ์ อุทัยสินธุเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพรรณ มาตังคสมบัติ ชูพงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มาริสา พลพวกวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ศุขธิดา อุบลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์Fabien Loisonวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาตรี หลักสูตร: วท.บ. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยรามคำแหง More Info...
 ศาสตราจารย์พงศ์ศักดิ์ อุทัยสินธุเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรพรรณ มาตังคสมบัติ ชูพงศ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มาริสา พลพวกวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์รดีกร อัครวงศาพัฒน์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ศาสตราจารย์ศุขธิดา อุบลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุเทพ ไวยครุฑธาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์สุรเดช ศิริพัฒนพิพงษ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรีย์มาศ บัวเทศวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวคนธ์ ภคอัครเลิศกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์โสรยา จาตุรงคกุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์อรุณี ธิติธัญญานนท์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ประกาศนียบัตรหรือหลักสูตรเฉพาะ(ที่บรรจุในอัตราเงินเดือนสูงกว่าปริญญาเอก) หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
มีการเปิดสอน 2 รายวิชา คือ
วทจว 603 ปรสิตวิทยาขั้นสูง  จำนวน 3 หน่วยกิต โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 7 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา
วทจว 604 วิทยาไวรัสขั้นสูง   จำนวน 3 หน่วยกิต โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 7 สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา
 
       
     
   

25130061100045_2094_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่
 1.2เคารพและปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
 1.3มีวิจารณญาณในการวางตนให้เหมาะสม
 1.4ปฏิบัติตามระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กร
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1ประยุกต์ หลักการและทฤษฏีศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อใช้ในงานวิจัย
 2.2ถ่ายทอดความก้าวหน้าทางวิชาการในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา กับผู้อื่นได้
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
 3.2สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย
 3.3สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1เป็นผู้นำที่สามารถนำความคิดเห็นต่างของผู้อื่นมาวิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผล
 4.2สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับบุคคลต่างๆ รวมถึงนักวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1ถ่ายทอดความรู้ และนำเสนอผลงานกับนักวิชาการ หรือในการประชุม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 5.2สืบค้นข้อมูลทางวิชาการ จากฐานข้อมูลทั้งในและต่างประเทศที่เชื่อถือได้เพื่อใช้ในการวิจัยสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่
 5.3ใช้เทคนิคทางสถิติวิเคราะห์ในการประมวลผลและการวิเคราะห์ ข้อมูลวิจัยทางศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1 แสดงทักษะทางวิชาชีพและมีจริยธรรม จรรยาบรรณ
  1.1 :มีความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่(1)
  1.2 :เคารพและปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ(1)
  1.3 :มีวิจารณญาณในการวางตนให้เหมาะสม(1)
  1.4 :ปฏิบัติตามระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กร(1)
  2.1 :ประยุกต์ หลักการและทฤษฏีศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อใช้ในงานวิจัย(2)
  2.2 :ถ่ายทอดความก้าวหน้าทางวิชาการในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา กับผู้อื่นได้(2)
  3.1 :คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  3.2 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย(3)
  3.3 :สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  4.1 :เป็นผู้นำที่สามารถนำความคิดเห็นต่างของผู้อื่นมาวิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผล(4)
  4.2 :สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับบุคคลต่างๆ รวมถึงนักวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ(4)
  5.1 :ถ่ายทอดความรู้ และนำเสนอผลงานกับนักวิชาการ หรือในการประชุม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม(5)
  5.2 :สืบค้นข้อมูลทางวิชาการ จากฐานข้อมูลทั้งในและต่างประเทศที่เชื่อถือได้เพื่อใช้ในการวิจัยสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่(5)
  5.3 :ใช้เทคนิคทางสถิติวิเคราะห์ในการประมวลผลและการวิเคราะห์ ข้อมูลวิจัยทางศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(5)
[Collapse]PLO: PLO2 สื่อสารความรู้หลักของศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและเขียน
  2.1 :ประยุกต์ หลักการและทฤษฏีศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อใช้ในงานวิจัย(2)
  2.2 :ถ่ายทอดความก้าวหน้าทางวิชาการในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา กับผู้อื่นได้(2)
  3.1 :คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  3.2 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย(3)
  3.3 :สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  5.1 :ถ่ายทอดความรู้ และนำเสนอผลงานกับนักวิชาการ หรือในการประชุม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม(5)
  5.2 :สืบค้นข้อมูลทางวิชาการ จากฐานข้อมูลทั้งในและต่างประเทศที่เชื่อถือได้เพื่อใช้ในการวิจัยสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่(5)
  5.3 :ใช้เทคนิคทางสถิติวิเคราะห์ในการประมวลผลและการวิเคราะห์ ข้อมูลวิจัยทางศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(5)
[Collapse]PLO: PLO3 สามารถดำเนินการวิจัยด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ โดยเฉพาะในศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
  2.1 :ประยุกต์ หลักการและทฤษฏีศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อใช้ในงานวิจัย(2)
  2.2 :ถ่ายทอดความก้าวหน้าทางวิชาการในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา กับผู้อื่นได้(2)
  3.1 :คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  3.2 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย(3)
  3.3 :สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  4.1 :เป็นผู้นำที่สามารถนำความคิดเห็นต่างของผู้อื่นมาวิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผล(4)
  4.2 :สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับบุคคลต่างๆ รวมถึงนักวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ(4)
[Collapse]PLO: PLO4 สามารถแปล วิเคราะห์ และอธิบายข้อมูลงานวิจัยโดยเฉพาะในศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
  3.1 :คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  3.2 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย(3)
  3.3 :สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
[Collapse]PLO: PLO5 สร้างสมมุติฐานและออกแบบการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐานโดยใช้แหล่งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือได้
  2.1 :ประยุกต์ หลักการและทฤษฏีศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันเพื่อใช้ในงานวิจัย(2)
  2.2 :ถ่ายทอดความก้าวหน้าทางวิชาการในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา กับผู้อื่นได้(2)
  3.1 :คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  3.2 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย(3)
  3.3 :สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
[Collapse]PLO: PLO6 สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน ที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารนานาชาติ
  3.1 :คิดวิเคราะห์เชิงลึกและเชิงวิพากษ์ ผลงานวิจัยศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
  3.2 :สามารถบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันกับความรู้ในศาสตร์อื่นเพื่อใช้แก้ปัญหาการวิจัย(3)
  3.3 :สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน(3)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.21.31.42.12.23.13.23.34.14.25.15.25.3
PLO1 แสดงทักษะทางวิชาชีพและมีจริยธรรม จรรยาบรรณ
PLO2 สื่อสารความรู้หลักของศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและเขียน
PLO3 สามารถดำเนินการวิจัยด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ โดยเฉพาะในศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
PLO4 สามารถแปล วิเคราะห์ และอธิบายข้อมูลงานวิจัยโดยเฉพาะในศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน
PLO5 สร้างสมมุติฐานและออกแบบการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐานโดยใช้แหล่งข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือได้
PLO6 สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์สาขาวิชาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน ที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารนานาชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1(แผน 3.1.7.1) นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน และมีทักษะในการทำวิจัย รวมถึงวิเคราะห์และวิจารณ์ความรู้ทางจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน เบื้องต้นกับผู้อื่นได้
1(แผน 3.1.7.2) นักศึกษามีความรู้ทางด้านจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน และมีทักษะในการทำวิจัย รวมถึงวิเคราะห์และวิจารณ์ความรู้ทางจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน กับผู้อื่นได้
2(แผน 3.1.7.1) นักศึกษาสำเร็จการเรียนรายวิชาในหลักสูตร มีทักษะการสร้างสมมติฐานและออกแบบการทดลองได้
2(แผน 3.1.7.2) นักศึกษาสำเร็จการเรียนรายวิชาในหลักสูตร มีทักษะการสร้างสมมติฐานและออกแบบการทดลองได้
3(แผน 3.1.7.1) นักศึกษาเริ่มทำวิทยานิพนธ์
3(แผน 3.1.7.2) นักศึกษาเริ่มทำวิทยานิพนธ์ โดยมีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถแปลผลและวิเคราะห์ วิจารณ์ผลการทดลอง จนสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน และได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารระดับนานาชาติ
4(แผน 3.1.7.1) นักศึกษามีความรู้ทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถแปลผลและวิเคราะห์ วิจารณ์ ผลการทดลองได้
5(แผน 3.1.7.1) นักศึกษาสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ในสาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน และได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารระดับนานาชาติ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป   เช่น จุลชีววิทยา ชีววิทยา ชีวเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ เคมี อุตสาหกรรมอาหาร สัตวแพทย์ แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ชีวภาพอื่น ๆ หรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ

๒. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท  สาขาวิชาจุลชีววิทยา ชีววิทยา ชีวเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เคมี อุตสาหกรรมอาหาร และวิทยาศาสตร์ชีวภาพอื่น ๆ หรือเทียบเท่า  จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง  โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ และ

๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาเอก 2.1144444
204444
300444
A:รวม48121212
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00444
ปริญญาเอก 2.2144444
204444
300444
400044
500004
A:รวม48121620
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00004

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   67240.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

แบบ ๒.๑ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาจุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้นกัน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง 

๑)   ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๒)   ต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔๘  หน่วยกิต

๓)   ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

๔)   ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๕)   ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

๖)   ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๗)   ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๘)   ต้องเผยแพร่ผลงานวิจัยหรือได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมินอย่างน้อย  ๑ ฉบับตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก

 

      แบบ ๒.๒  ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

๑)   ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๒)   ต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๒  หน่วยกิต

๓)   ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

๔)   ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๕)   ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

๖)   ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๗)   ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๘)   ต้องเผยแพร่ผลงานวิจัย หรือได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมินอย่างน้อย ๑ ฉบับตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย โดยมีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
14/06/2020 14:10:123.16 MB