25120061100033_2086_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 2 ระดับ (โท – เอก)  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   15/11/2560  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2561
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะวิทยาศาสตร์  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2514  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2555  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ)  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Physiology (International Program)  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาเอก 2.2
ปริญญาเอก 2.1
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตDoctor of Philosophyปร.ด.Ph.D.สรีรวิทยา
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

แบบ ๒.๑  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

                    หมวดวิชาบังคับ                                       หน่วยกิต                  

                    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                          หน่วยกิต

                    วิทยานิพนธ์                                   ๓๖      หน่วยกิต        

                   รวมไม่น้อยกว่า                               ๔๘      หน่วยกิต

                 แบบ ๒.๒  สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

                    หมวดวิชาบังคับ                               ๒๐      หน่วยกิต                  

                    หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                          หน่วยกิต

                    วิทยานิพนธ์                                   ๔๘      หน่วยกิต

                   รวมไม่น้อยกว่า                               ๗๒      หน่วยกิต


รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาเอก 2.272
ปริญญาเอก 2.148

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25120061100033_2086_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2561  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
25/04/2019 08:46:451.2 MB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ศาสตราจารย์จงกลณี วัฒนาเพิ่มพูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Illinois More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชชุดา แสงสว่างวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Physiology and Biophysics) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Illinois More Info...
 รองศาสตราจารย์อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Medical Science) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kyorin University School of Medicine More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ศาสตราจารย์จงกลณี วัฒนาเพิ่มพูลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Illinois More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตติมา วีระชยาภรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Texas Medical Branch at Galveston More Info...
 ศาสตราจารย์ฉัตรชัย เหมือนประสาทวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์ณัฐพล ภาณุพินธุวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:The University of Western Ontario More Info...
 รองศาสตราจารย์เทพมนัส บุปผาอินทร์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (สรีรวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ศาสตราจารย์นรัตถพล เจริญพันธุ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัชกฤต ศรีเกื้อวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชชุดา แสงสว่างวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Physiology and Biophysics) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Illinois More Info...
 รองศาสตราจารย์วิฑูร แสงศิริสุวรรณวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:University of Arizona More Info...
 รองศาสตราจารย์สัณหภาส สุดวิลัยวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. (สรีรวิทยา) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหิดล More Info...
 รองศาสตราจารย์อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. (Medical Science) สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Kyorin University School of Medicine More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
ภาคฤดูร้อน ใช้ระยะเวลาศึกษา 8 สัปดาห์ คือ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม

         
 
       
     
   

25120061100033_2086_IP:หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยา (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2561)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1.1มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับขององค์กร และสังคม
 1.2มีจริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในสาระหลักของสาขาวิชาสรีรวิทยา
 2.2มีความรู้ในเชิงวิชาการอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง
 2.3สามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
 2.4สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้านสรีรวิทยากับสาขาที่เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3.1สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานวิจัยทางสรีรวิทยาและสาขาที่เกี่ยวข้อง
 3.2ดำเนินกระบวนการวิจัย แก้ปัญหาทางสรีรวิทยา
 3.3มีความสามารถสังเคราะห์ความรู้ใหม่ เชื่อมโยงและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
 3.4มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ประยุกต์ความรู้ใหม่ เพื่อพัฒนาให้เกิดเป็นนวัตกรรม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4.1มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและสามารถดำเนินงานได้ ด้วยตนเอง
 4.2มนุษยสัมพันธ์ดี มีภาวะผู้นำและผู้ตาม ในการทำงานเป็นกลุ่มให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5.1สามารถคำนวณและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข รวมทั้งสามารถใช้เครื่องมือทางสถิติที่เหมาะสม
 5.2สามารถติดตามข้อมูลความเป็นไปและความก้าวหน้าทางวิชาการ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย
 5.3สามารถสื่อสารและนำเสนอผลงานการในระดับนานาชาติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ
  1.1 :มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับขององค์กร และสังคม(1)
  1.2 :มีจริยธรรมการวิจัยและจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ(1)
[Collapse]PLO: PLO2 สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  2.1 : มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในสาระหลักของสาขาวิชาสรีรวิทยา(2)
  2.2 :มีความรู้ในเชิงวิชาการอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง (2)
  2.3 :สามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง(2)
  2.4 :สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้านสรีรวิทยากับสาขาที่เกี่ยวข้อง(2)
[Collapse]PLO: PLO3 สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์
  3.1 :สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงานวิจัยทางสรีรวิทยาและสาขาที่เกี่ยวข้อง (3)
  3.2 :ดำเนินกระบวนการวิจัย แก้ปัญหาทางสรีรวิทยา(3)
  3.3 :มีความสามารถสังเคราะห์ความรู้ใหม่ เชื่อมโยงและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม(3)
  3.4 :มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ประยุกต์ความรู้ใหม่ เพื่อพัฒนาให้เกิดเป็นนวัตกรรม(3)
[Collapse]PLO: PLO4 สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  4.1 :มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและสามารถดำเนินงานได้ ด้วยตนเอง(4)
  4.2 :มนุษยสัมพันธ์ดี มีภาวะผู้นำและผู้ตาม ในการทำงานเป็นกลุ่มให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี(4)
[Collapse]PLO: PLO5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5.1 :สามารถคำนวณและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข รวมทั้งสามารถใช้เครื่องมือทางสถิติที่เหมาะสม(5)
  5.2 :สามารถติดตามข้อมูลความเป็นไปและความก้าวหน้าทางวิชาการ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย(5)
  5.3 :สามารถสื่อสารและนำเสนอผลงานการในระดับนานาชาติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
1.11.22.12.22.32.43.13.23.33.44.14.25.15.25.3
PLO1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ
PLO2 สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
PLO3 สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์
PLO4 สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
PLO5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1แบบ 2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1แบบ 2.2 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2แบบ 2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2แบบ 2.2 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3แบบ 2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3แบบ 2.2 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4แบบ 2.2 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการ สามารถบูรณาการความรู้ด้านสรีรวิทยาด้วยตนเอง เพื่อเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ และออกแบบงานวิจัย เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ด้านสรีรวิทยา หรือสาขาวิชาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ สามารถทำงานเป็นทีม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง และนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
  ๑. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาแพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และสาขาวิทยาศาสตร์หรือเทียบเท่า จากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ หรือ 
๒. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า และวิทยา-ศาสตรมหาบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับรอง โดยได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐  
๓. มีผลการสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 
๔. ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25612562256325642565
ปริญญาเอก 2.1155555
205555
300555
A:รวม510151515
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00555
ปริญญาเอก 2.2155555
205555
300555
400055
A:รวม510152020
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00055

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   149800.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
  ๑. ใช้เวลาศึกษาตามแผนการศึกษา 
๒. ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตร 
    ๒.๑ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี แล้วเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาเอก ต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต 
   ๒.๒ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท แล้วเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาเอก ต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔๘ หน่วยกิต 
๓. ต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ 
๔. ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 
๕. ต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) 
๖. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคมผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 
๗. ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบวิทยานิพนธ์ผ่านด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ 
๘. ต้องเผยแพร่ผลงานวิจัย หรือได้รับการตอบรับให้เผยแพร่ผลงานวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติที่มีผู้ประเมิน อย่างน้อย ๑ ฉบับ หรือตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล.pdf
22/08/2020 11:47:52291.8 KB
มคอ2.pdf
13/03/2019 17:25:36605.59 KB