25050061100013_2101_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2564)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ   หลักสูตรปรับปรุง (หลักสูตรปรับปรุงตามกำหนดรอบปรับปรุง)    
  จำนวนปริญญา   หลักสูตรปรับปรุง 1 ปริญญา  
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน   2558    
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ   20/01/2564  
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน   2564
   หลักสูตรสังกัดคณะ   คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล  
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.   2555  
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.   2559  
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Science Program in Anatomy  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน : Main Campus  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.Sc.กายวิภาคศาสตร์
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก     ไม่มี  
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

(๑)  หมวดวิชาปรับพื้นฐาน             ไม่นับหน่วยกิต

        (๒) หมวดวิชาบังคับ                     ๒๐     หน่วยกิต        

        (๓) หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า        ๔       หน่วยกิต        

                  (๔) วิทยานิพนธ์                        ๑๒     หน่วยกิต        

                  รวมไม่น้อยกว่า                        ๓๖      หน่วยกิต
รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก236

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ : หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา : รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น : เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว  

หลักสูตร 25050061100013_2101_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2564)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่ 1  ปี 2564  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
19/04/2021 10:04:5878.66 KB
CouncilApprove2660.pdf
03/03/2021 13:36:53103.89 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจพร พานิชเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัสรา ลานเหลือวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ศิรินุช ศรีเจริญเวชวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยรัตน์ เติบไพบูลย์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ถาวรชัย ลิ้มจินดาพรวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจพร พานิชเจริญวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัสรา ลานเหลือวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์รสริน รัตนเลขาวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาโท หลักสูตร: วท.ม. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์ศิรินุช ศรีเจริญเวชวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อภิชญา นิยมจันทร์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: ปร.ด. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร   ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์  
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน   มี
มีภาคฤดูร้อน จำนวน ๘ สัปดาห์ ก่อนปีที่ ๑ และปี ๒ หรือตามการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
 
       
     
   

25050061100013_2101_IP:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง(พ.ศ. 2564)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
 
No data to display
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2มีความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาความรู้ทางด้านกายวิภาคศาสตร์
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3สามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ความรู้ทางด้านกายวิภาคศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4สามารถทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5ใช้ข้อมูลทางสถิติ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัยได้อย่างดี และมีทักษะในสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
[Collapse]PLO: 1 สามารถแสดงถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ทั้งในด้านวิชาการและวิจัย
  1 :มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ(1)
[Collapse]PLO: 2 สามารถอธิบายความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ อย่างถูกต้อง
  2 :มีความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาความรู้ทางด้านกายวิภาคศาสตร์(2)
[Collapse]PLO: 3 สามารถวิเคราะห์และดำเนินงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และเผยแพร่อย่างมีจริยธรรมเพื่อผลประโยชน์ต่อสังคมไทยและมนุษยชาติ
  3 :สามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ความรู้ทางด้านกายวิภาคศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์(3)
[Collapse]PLO: 4 สามารถทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ
  4 :สามารถทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ(4)
[Collapse]PLO: 5 สามารถใช้ข้อมูลทางสถิติ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5 :ใช้ข้อมูลทางสถิติ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาและวิจัยได้อย่างดี และมีทักษะในสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ(5)
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
[Collapse]1[Collapse]2[Collapse]3[Collapse]4[Collapse]5
12345
1 สามารถแสดงถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ทั้งในด้านวิชาการและวิจัย
2 สามารถอธิบายความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ อย่างถูกต้อง
3 สามารถวิเคราะห์และดำเนินงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และเผยแพร่อย่างมีจริยธรรมเพื่อผลประโยชน์ต่อสังคมไทยและมนุษยชาติ
4 สามารถทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ
5 สามารถใช้ข้อมูลทางสถิติ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
1- นักศึกษาสามารถอธิบายความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ สำหรับการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ อย่างถูกต้องและมีมาตรฐานระดับสากล - นักศึกษาสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ
2- นักศึกษาสามารถอธิบายความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ สำหรับการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ อย่างถูกต้องและมีมาตรฐานระดับสากล - นักศึกษาสามารถผลิตสื่อในการสอน สำหรับการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ - นักศึกษาสามารถวิเคราะห์งานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม - นักศึกษาสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ
3- นักศึกษาสามารถอธิบายความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ สำหรับการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ อย่างถูกต้องและมีมาตรฐานระดับสากล - นักศึกษาสามารถผลิตสื่อในการสอน สำหรับการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ - นักศึกษาสามารถวิเคราะห์งานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม - นักศึกษาสามารถทำงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ และเผยแพร่อย่างมีจริยธรรม เพื่อผลประโยชน์ต่อสังคมไทยและมนุษยชาติ - นักศึกษาสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะทำงานเป็นกลุ่ม และมีความรับผิดชอบ

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา  

๒.๒.๑ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสัตวแพทย์ ทันตแพทย์ แพทย์ พยาบาล กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด รังสีเทคนิค เทคนิคการแพทย์ สัตววิทยา แพทย์แผนไทย ชีววิทยา และสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องทางวิทยาศาสตรบัณฑิต จากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง

๒.๒.๒ ได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐

๒.๒.๓ มีผลคะแนนภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย

๒.๒.๔ ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากข้อ ๒.๒.๒ และข้อ ๒.๒.๓ อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษา ตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัย

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25642565256625672568
ปริญญาโท แบบ ก212020202020
2020202020
300202020
A:รวม2040606060
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00202020

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   61015.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

๓. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

๓.๑ ใช้เวลาในการศึกษาตามแผนการศึกษา

๓.๒ ต้องศึกษารายวิชาต่างๆ ครบถ้วน ตามโครงสร้างของหลักสูตรคือ ศึกษารายวิชา ไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ ๑๒ หน่วยกิต รวมจำนวนหน่วยกิตที่ต้องศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต โดยต้องได้แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐

๓.๓ ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๓.๔ ต้องเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการทำงานและการใช้ชีวิตในสังคม ผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

๓.๕ ต้องเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ผ่าน ด้วยวิธีการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย            โดยคณะกรรมการที่บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง และการสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

๓.๖ ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (
Proceedings) และตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

 

 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล.pdf
03/03/2021 13:40:5122.24 MB
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร.pdf
03/03/2021 13:46:44159.25 KB
มคอ2.pdf
19/04/2021 10:14:531.22 MB