ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.1 รหัสและชื่อหลักสูตร      
  ประเภทการขอรับทราบ      
  จำนวนปริญญา    
  เลือกใช้เกณฑ์การประเมิน      
  วัน/เดือน/ปี ที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ    
  ปีการศึกษาที่สภาอนุมัติให้เปิดสอน  
   หลักสูตรสังกัดคณะ    
   เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.    
   ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ.    
     
  1.1.1 ชื่อภาษาไทย :  
  1.1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ :  
  1.1.3 สถานที่จัดการเรียนการสอน :  
1.2 ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
  1.2.1 รูปแบบ :
ระดับ 
ปริญญาโท แบบ ก2
 
  1.2.2 หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ :
ปริญญาที่ 
หลักเกณฑ์การเรียกชื่อ 
ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ)  
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาไทย) 
ชื่อย่อปริญญา (ภาษาอังกฤษ) 
ชื่อสาขาวิชา 
1เป็นไปตามเกณฑ์กำหนดชื่อปริญญาของ กกอ.วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตMaster of Scienceวท.ม.M.S.ทันตกรรมจัดฟัน
 
1.3 ข้อมูลประกอบ :      
  1.3.1 วิชาเอก      
  1.3.2 จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : โครงสร้างหลักสูตร

รูปแบบ 
จำนวนหน่วยกิต 
ปริญญาโท แบบ ก260

 
  1.3.3 ภาษาที่ใช้ :  
  1.3.4 การรับผู้เข้าศึกษา :  
  1.3.5 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น :
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_3
 
Name 
Date modified 
Size 
No data to display
 
  1.3.6 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา :  

หลักสูตร

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
1.4 สถานภาพหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร    
  1.4.1 กำหนดเปิดสอน   ภาคเรียนที่  ปี  

เอกสารแนบ มติสภา
  • Copy
  • Delete (Del)
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_4
 
Name 
Date modified 
Size 
CouncilApprove.pdf
17/9/2561 11:44:53102.17 KB
CouncilApprove2645.pdf
18/6/2562 10:24:25101.81 KB
 
  1.4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร  
 
ตำแหน่งทางวิชาการ 
ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์บุญศิวา ซูซูกิวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์อรณิชา ธนัทวรากรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เอดวาร์ดโด ยูโก้ ซูซูกิวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 
  1.4.3 อาจารย์ประจำหลักสูตร    
ตำแหน่งทางวิชาการ 
อาจารย์ประจำหลักสูตร 
วุฒิการศึกษาสูงสุด 
ประวัติการศึกษา/ผลงานทางวิชาการ 
 รองศาสตราจารย์บุญศิวา ซูซูกิวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Tokyo Medicaland Dental University, Japan More Info...
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยสนันท์ จันทรเวคินวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 รองศาสตราจารย์สุทธาทิพย์ กมลมาตยากุลวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: M.Sc. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Glasgow University, UK. More Info...
 อาจารย์อรณิชา ธนัทวรากรณ์วุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย: More Info...
 อาจารย์เอดวาร์ดโด ยูโก้ ซูซูกิวุฒิการศึกษาสูงสุด: ปริญญาเอก หลักสูตร: Ph.D. สาขาวิชา: GRAD_PROG_ID จบจากมหาวิทยาลัย:Tokyo Medical and Dental University, Japan More Info...
 
1.5 ระบบจัดการศึกษา    
  1.5.1 การจัดการศึกษาและโครงสร้างหลักสูตร    
  1.5.2 การจัดการศึกษาฤดูร้อน  
ddd
 
       
     
   

T20172135102680:หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมจัดฟัน หลักสูตรใหม่(พ.ศ. 2560)

 

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะทันตแพทยศาสตร์
1.6 ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้: Learning Outcomes)    
  1.6.1 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป    
   ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน
ลำดับที่ 
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1 
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2 
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3 
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4 
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5 
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน 
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 
  1.6.2 ผลการเรียนรู้ หมวดวิชาเฉพาะ    
     ผลการพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (ผลการเรียนรู้ :Learning Outcomes)
ลำดับที่ (Ascending)
รายละเอียด 
[Collapse]หัวข้อ: 1.คุณธรรมจริยธรรม
 1(1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริตมีจรรยาบรรณ ทางวิชาการและวิชาชีพ (2) มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม (3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ (4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
[Collapse]หัวข้อ: 2.ความรู้
 2(1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา (2) สามารถวิเคราะห์ปัญหารวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา (3) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ (4) สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
[Collapse]หัวข้อ: 3.ทักษะทางปัญญา
 3(1) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ (2) สามารถสืบค้นรวบรวม ศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็น ปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไข ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 4(1) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสมและเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม (3) มีความรับผิดชอบการพัฒนา การเรียนรู้ทั้งของตนเองและทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
[Collapse]หัวข้อ: 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
 5(1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้ สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม (2) สามารถแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือนำสถิติมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนำเสนออย่างเหมาะสม
[Collapse]หัวข้อ: 6.ด้านทักษะการเรียนรู้ด้านปฏิบัติทางวิชาชีพหรือทักษะพิสัย
 6(1) สามารถรวบรวมข้อมูลโดยการซักประวัติและการตรวจ ประเมินสภาวะผู้ป่วยทั้งทางการแพทย์และทางทันตกรรม รวมทั้งการบันทึกเวชระเบียนของผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เป็นระบบตามมาตรฐานวิชาชีพ (2) สามารถวินิจฉัยเบื้องต้นและวินิจฉัยแยกโรคในช่องปาก ขากรรไกรและใบหน้าโดยการแปลผลที่ได้จากข้อมูลต่างๆจากการตรวจผู้ป่วย (3) สามารถวางแผนการรักษาทางทันตกรรม โดยใช้หลักสุขภาพองค์รวมและการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยรวมทั้งทำการปรึกษา ให้คำปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยไปรับการรักษากับผู้ประกอบวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม (4) สามารถจัดการ รักษาทางทันตกรรม ฟื้นฟูสภาพในช่องปาก รวมทั้งติดตามและประเมินผลการรักษา (5) สามารถจัดการเบื้องต้นต่อภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยทันตกรรมได้อย่างเหมาะสม (6) สามารถจัดการภาวะแทรกซ้อนและภาวะฉุกเฉินทางทันตกรรมได้ (7) สามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก ทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยใช้หลักสุขภาพองค์รวม
PLO
การพัฒนาการเรียนรู้แต่ละด้าน (Ascending)
 
No data to display
ตาราง Maping 
PLO(Ascending)[Filter]
Grand Total
Grand Total
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
 
 
  1.6.3 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา    
 
ปีที่ (Ascending)
รายละเอียด 
11. นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับหลักการและวิธีการเจริญเติบโตและพัฒนาการของศีรษะ ใบหน้าและฟันของมนุษย์ ลักษณะทางกายวิภาคและหน้าที่ของข้อต่อขากรรไกร กลไกการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของ ใบหน้า และช่องปากที่เกี่ยวข้องกับการบดเคี้ยว หลักการพื้นฐานของการสบฟัน การทำงานของระบบบดเคี้ยวในภาวะปกติและผิดปรกติ สามารถอธิบายหลักการและวิธีการถ่ายภาพรังสีชนิดต่างๆ สามารถตั้งเป้าหมายการรักษา การวางแผนการรักษา คาดการณ์การเจริญเติบโตและการรักษา ประเมินผลการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน สามารถประยุกต์ใช้หลักการทางชีวกลศาสตร์ที่ถูกต้องนำไปสู่การรักษาทางทันตกรรมจัดฟันที่มีประสิทธิภาพสูงและประสบความสำเร็จ 2. นักศึกษาสามารถ ตรวจประเมินผู้ป่วยทางทันตกรรมจัดฟัน การซักประวัติทางการแพทย์และทางทันตกรรม อาการสำคัญที่ผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปรกติมาพบทันตแพทย์เพื่อการจัดฟัน เก็บข้อมูลที่จำเป็นและด้านต่างๆเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ ให้การวินิจฉัย วางแผนการรักษาและวางระบบการให้แรงในการเคลื่อนฟันที่เหมาะสม เลือกวิธีการรักษาและเทคนิคที่เหมาะสมแก่ผู้ป่วยแต่ละราย และการให้การรักษาผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปกติแบบต่างๆในระยะเริ่มต้นของการจัดฟันได้ 3.นักศึกษาสามารถกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ได้
21.นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของกะโหลกศีรษะและใบหน้าโดยวิธีการทางทันตกรรมจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดได้ และสามารถอธิบายถึงหลักการรักษาแบบสหวิทยาการทางทันตกรรมจัดฟัน 2.นักศึกษาสามารถ ให้การรักษาต่อเนื่องกับผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปรกติชนิดต่าง ๆ ตามลำดับขั้นตอนที่ถูกต้องมีการประเมินผลการรักษาและการรายงานความก้าวหน้าการรักษาผู้ป่วยทุกรายที่กำลังรักษาตลอดจนแก้ไขปรับปรุงแผนการรักษาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย รวมถึงการรักษาแบบสหสาขา และ การให้การรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของกระดูกขากรรไกรและผู้ป่วยที่มีความพิการบริเวณศีรษะและใบหน้าแต่กำเนิด 3.ดำเนินงานวิทยานิพนธ์ตามแผนที่วางไว้
31.นักศึกษาสามารถ ให้การรักษาต่อเนื่องกับผู้ป่วยที่มีการสบฟันผิดปรกติชนิดต่าง ๆ ตามลำดับขั้นตอนที่ถูกต้อง มีการประเมินผลการรักษาและการรายงานความก้าวหน้าการรักษาผู้ป่วยทุกรายที่กำลังรักษา การจัดฟันในขั้นตอนสุดท้ายและการเตรียมทำรายงานผู้ป่วย 2.นักศึกษาสามารถนำเสนอผลงานวิจัยในรูปแบบต่างๆในงานประชุมวิชาการทันตกรรมจัดฟันในและต่างประเทศ 3.ตีพิมพ์ผลงานวิชาการในวารสารวิชาการทางทันตกรรมจัดฟัน

 
1.7 คุณสมบัติผู้เรียน
 

1. ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เรื่องการรับสมัครเข้าศึกษาต่อในแต่ละปีการศึกษา

2. สำเร็จการศึกษาทันตแพทยศาสตรบัณฑิต

3. ได้ขึ้นทะเบียนและได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมกับทันตแพทยสภาแล้ว

 
1.8 จำนวนนิสิต        
1.8.1 จำนวนนิสิต :  
 
ประเภทปริญญา(Ascending)
ชั้นปี
25602561256225632564
ปริญญาโท แบบ ก211010101010
2010101010
300101010
A:รวม1020303030
B:จำนวนนิสิตที่คาดว่าจะจบ00101010

   
  1.8.2 รูปแบบการศึกษา : แบบชั้นเรียน  
  1.8.3 ค่าใช้จ่ายต่อหัวต่อปี (สูงสุด)   604207.00  บาท (โครงการปกติ/รับตรง)
0.00  บาท (โครงการพิเศษ ถ้ามี)
 
1.9 เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    
 

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 กล่าวคือ

หลักสูตร แผน  ก แบบ ก2

1. สอบผ่านภาษาต่างประเทศตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย

2. ศึกษากระบวนวิชา และปฏิบัติครบตามเงื่อนไขของสาขาวิชา

3. มีผลการศึกษาได้ค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่น้อยกว่า 3.00 และค่าลำดับขั้นสะสมเฉลี่ยในสาขาวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า 3.00

4. เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบประเมินผลวิทยานิพนธ์โดยการสอบปากเปล่า การจัดสอบเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้

5. ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดำเนินการให้ผลงาน หรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม (proceedings) โดยผลงานที่เผยแพร่นั้นต้องเป็นบทความฉบับเต็ม (full paper) ที่สามารถค้นหา หรือตรวจสอบได้ในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือมีการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตรโดยมีชื่อนักศึกษาเป็นชื่อแรก จำนวนอย่างน้อย 1 เรื่อง 

 


 
1.10 เอกสารแนบ    
   
  • Move (F6)
  • Copy
  • Refresh
  • Download
  • Folder1_10
 
Name 
Date modified 
Size 
มคอ2.pdf
19/6/2562 16:27:237.49 MB